[x] ปิดหน้าต่างนี้
 
 

  

ทดสอบหมวดหมู่
ภูมิปัญญาชาวบ้านการทำกลองมโนรา

จันทร์ ที่ 14 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2559


  ภูมิปัญญาชาวบ้านการทำกลองมโนรา

นายธรรม       ทองชุมนุม

บ้านเลขที่  695   หมู่ที่ 2  ตำบลรัตภูมิ อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา 90220

 

วิธีการทำ

          1. กลองโนราใช้ประกอบการแสดงโนราหรือหนัง ตะลุง โดยทั่วไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของหน้า กลองทั้ง ๒ ด้าน ประมาณ ๑๐ นิ้ว และมี ส่วนสูงประมาณ ๑๒ นิ้ว กลองโนรานิยมทำด้วยแก่น ไม้ขนุน เพราะเชื่อว่าทำให้เสียงดี หนังที่ หุ้มกลองใช้หนังวัวหรือควายหนุ่ม ถ้าจะให้ ดีต้องใช้หนังของลูกวัวหรือลูกควาย มี หมุดไม้หรือภาษาใต้เรียกว่า "ลูกสัก" ตอกยึดหนังหุ้มให้ตึง มีขาทั้งสอง ขาทำด้วยไม้ไผ่มีเชือกตรึงให้ติดกับ กลอง และมี ไม้ตีขนาดพอเหมาะ ๑ คู่ ถ้า เป็นกลองที่ใช้ประกอบการแสดงหนังตะลุง จะมี ขนาดเล็กกว่า ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๖ นิ้ว และมีส่วนสูงประมาณ ๘ นิ้ว


           2. ทับ (โทนหรือทับโนรา) เป็นคู่ เสียงต่างกันเล็กน้อย ใช้คนตีเพียงคนเดียว เป็นเครื่องตีที่สำคัญที่สุด เพราะทำหน้าที่ คุมจังหวะและเป็นตัวนำในการเปลี่ยนจังหวะทำนอง (แต่จะต้องเปลี่ยนตามผู้รำ ไม่ใช่ผู้รำ เปลี่ยน จังหวะลีลาตามดนตรี ผู้ทำหน้าที่ตีทับจึงต้องนั่งให้มอง เห็นผู้รำตลอดเวลา และต้องรู้เชิง ของผู้รำ)


          3. โหม่ง คือ ฆ้องคู่ เสียงต่างกันที่เสียงแหลม เรียกว่า เสียงโหม้ง” ที่เสียงทุ้ม เรียกว่า เสียงหมุ่ง” หรือ บางครั้งอาจจะเรียกว่าลูกเอกและลูก ทุ้มซึ่งมีเสียงแตกต่างกันเป็น คู่แปดแต่ดั้งเดิมแล้วจะใช้คู่ห้า

 



เข้าชม : 585


ทดสอบหมวดหมู่ 5 อันดับล่าสุด

      ภูมิปัญญาชาวบ้านการทำกลองมโนรา 14 / พ.ย. / 2559


 

ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับตำบลรัตภูมิ
ถนนศรีสว่าง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา 90220
    โทร
  0-7431-1046 โทรสาร 0-7431-1046

Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05