[x] ปิดหน้าต่างนี้
 

ยินดีต้อนรับสู่ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอรัตภูมิ "ถิ่นดินแดง แหล่งผลไม้ดก น้ำตกเจ้าฟ้า ภูผามีตำนาน ประตูผ่านสู่ชายแดน"

 

ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
๑. ชื่อสถานศึกษา     ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ
๒.ที่ตั้ง/การติดต่อ    หมู่ที่ ๑ ถนนยนตรการกำธร  ตำบลกำแพงเพชร  อำเภอรัตภูมิ  จังหวัดสงขลา 
   รหัสไปรษณีย์ ๙๐๑๘๐  โทร ๐๗๔-๓๘๙๑๗๔  โทรสาร ๐๗๔-๓๘๙๑๗๔
 
๓.สังกัด  สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสงขลา สำนักส่งเสริม
            การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  กระทรวงศึกษาธิการ
๔.ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา
 ๔.๑ ประวัติสถานศึกษา
             ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ ได้จัดตั้งขึ้นโดยประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่  ๒๗  สิงหาคม  พ.ศ. ๒๕๓๖ โดยเป็นสถานศึกษาสังกัดศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดสงขลา    และในวันที่ ๒  กุมภาพันธ์  พ.ศ. ๒๕๓๗    กรมการศึกษานอกโรงเรียน  ได้แต่งตั้งนายสมพร  สุคนธพันธุ์   เป็นผู้บริหาร  ในตำแหน่งหัวหน้าศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอรัตภูมิ  โดยอาศัยอาคารห้องสมุดประชาชนอำเภอรัตภูมิเป็นสำนักงาน
             วันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๔๑ กรมการศึกษานอกโรงเรียนได้แต่งตั้งให้ นายอรัญ  คงนวลใย มารักษาการในตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอรัตภูมิ   และในปี  พ.ศ. ๒๕๔๒ องค์กรนักศึกษาร่วมกับชุมชนได้ร่วมกันจัดสร้างอาคารสำนักงานแยกเป็นเอกเทศ
            วันที่ ๔  กรกฎาคม  ๒๕๔๖ กรมการศึกษานอกโรงเรียนได้แต่งตั้งให้ นางวิบูลผล พร้อมมูลมาดำรงตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอรัตภูมิ   และได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ
             ต่อมาได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย   จึงเปลี่ยนชื่อศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอรัตภูมิ มาเป็นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ  เมื่อวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๑ โดยมีชื่อย่อ กศน.รัตภูมิ สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่ ดังนี้
              ๑. จัดและให้บริการการศึกษานอกโรงเรียน การศึกษาเพื่อเสริมสร้างในระบบโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย ตามความต้องการและสภาพปัญหาของท้องถิ่น
              ๒.  จัดและประสานให้มีศูนย์การเรียน หน่วยจัดการศึกษานอกโรงเรียน เพื่อเป็นเครือข่ายการศึกษานอกโรงเรียนได้อย่างกว้างขวางและทั่วถึง และส่งเสริมให้ชุมชนจัดการศึกษาของตนเองในลักษณะศูนย์การเรียนชุมชน เพื่อเป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษา วางแผนและบริการการศึกษาต่อสมาชิกในชุมชนและระหว่างชุมชน
              ๓.  สนับสนุนสิ่งจำเป็นด้านต่างๆ ที่ใช้ในการดำเนินงานการศึกษานอกโรงเรียนของเครือข่ายทั้งภาครัฐ และเอกชน เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนการสอนและการบริการแก่กลุ่มเป้าหมาย
             ๔.  กำกับ ดูแล ติดตามและรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอกโรงเรียน           
ประวัติอำเภอรัตภูมิ
    อำเภอรัตภูมิแต่เดิมอยู่ในเขตการปกครองของเมืองพัทลุง  (อำเภอปากพะยูน  จังหวัดพัทลุง) ต่อมาในปี  พ.ศ.  ๒๔๐๑   ทางการได้ยกท้องที่อำเภอรัตภูมิในปัจจุบันให้มาขึ้นกับเมืองสงขลา  ในปี พ.ศ.  ๒๔๔๐  ทางราชการได้ตั้งเป็นกิ่งอำเภอรัตภูมิ  โดยตั้งที่ทำการกิ่งอำเภอแห่งแรกอยู่ที่ตำบลควนรู  ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๖๐  ได้ย้ายที่ทำการไปอยู่ที่ปากบางภูมี   (  ปัจจุบันคือบ้านปากบาง  ตำบลรัตภูมิ )  แล้วต่อมาก็เรียกเพี้ยนกันมาจนกลายเป็น “ กิ่งอำเภอรัฐภูมิ ” และในปี พ.ศ. ๒๔๖๖  ได้ย้ายที่ทำการไปตั้งอยู่ที่ตำบลกำแพงเพชร  พร้อมกับได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น “อำเภอกำแพงเพชร”  ตามชื่อตำบลอันเป็นที่ตั้งที่ว่าการอำเภอ  ครั้นถึงปี พ.ศ. ๒๔๘๑    ทางราชการเห็นว่าชื่อนี้   ไปพ้องกับชื่อจังหวัดกำแพงเพชร   จึงเปลี่ยนชื่อเป็น   “  อำเภอรัตตภูมิ  ”  จนกระทั้งในปี พ.ศ. ๒๕๐๔  ก็ได้เปลี่ยนชื่ออำเภอมาเขียนเป็น     “ อำเภอรัตภูมิ ”  ซึ่งมี   ต   แค่ตัวเดียวเท่านั้น  และใช้ชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบัน
            ปัจจุบันที่ว่าการอำเภอรัตภูมิ  ตั้งอยู่ที่  ถนนยนตรการกำธร  หมู่ที่  ๑  ตำบลกำแพงเพชร   ห่างจากตัวจังหวัดไปทิศตะวันตกประมาณ  ๖๐   กิโลเมตร   มีพื้นที่ปกครองทั้งหมด  ๕๙๑.๘  ตารางกิโลเมตร  พิกัด  ๗°๘′๖″N, ๑๐๐°๑๖′๒๔″E
             ๔.๒ อาณาเขต
                    อำเภอรัตภูมิตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้
• ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอป่าบอน (จังหวัดพัทลุง)
• ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอควนเนียงและอำเภอบางกล่ำ
• ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอหาดใหญ่ และอำเภอควนกาหลง (จังหวัดสตูล)
• ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอควนกาหลง (จังหวัดสตูล) และอำเภอป่าบอน (จังหวัดพัทลุง)
           ๔.๓ สภาพชุมชน
ข้อมูลการปกครอง
การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งการปกครองออกเป็นทั้งหมด ๕ ตำบล ๖๓ หมู่บ้าน ดังนี้
                ๑. ตำบลกำแพงเพชร มี  ๑๓  หมู่บ้าน
                ๒. ตำบลเขาพระ       มี  ๑๒  หมู่บ้าน
                ๓. ตำบลท่าชะมวง     มี  ๑๕  หมู่บ้าน
                ๔. ตำบลคูหาใต้         มี  ๑๔ หมู่บ้าน
                ๕. ตำบลควนรู          มี   ๙   หมู่บ้าน
ประชากร
          อำเภอรัตภูมิปัจจุบัน มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น    ๗๕,๕๐๔   คน   มีความหนาแน่นของประชากร เท่ากับ ๑๑๙.๑๓ คน ต่อตารางกิโลเมตร
สภาพสังคม 
            ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธและอิสลาม 
สภาพภูมิอากาศ
              อำเภอรัตภูมิ มีสภาพอากาศเป็นแบบ  มี ๒ ฤดู คือ ฤดูร้อน  และฤดูฝน
ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
 -  อาชีพหลัก  ได้แก่   เกษตรกรรม ด้านการทำสวนยางพารา สวนผลไม้ และการทำนา
 -  อาชีพเสริม  ได้แก่   รับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม และการเลี้ยงสัตว์
หน่วยงานราชการ  ประกอบด้วย
 -  ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ
 -  สำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลา สาขารัตภูมิ
 -  สำนักงานประมงอำเภอรัตภูมิ
 -  สำนักงานปศุสัตว์อำเภอรัตภูมิ
 -  สำนักงานเกษตรอำเภอรัตภูมิ
 -  หน่วยควบคุมโรคนำโดยแมลงที่ ๓ อำเภอรัตภูมิ
 -  โรงพยาบาลรัตภูมิ
 -  ฝายบำรุงรักษาที่ ๓ สงขลา (ชะมวง)
 -  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรัตภูมิ
 -  สำนักงานสัสดีอำเภอรัตภูมิ
 -  สำนักงานสรรพากรอำเภอรัตภูมิ
 -  สถานีตำรวจภูธรรัตภูมิ
หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ  ประกอบด้วย
 -  การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอรัตภูมิ
 -  ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขอำเภอรัตภูมิ
 -  สำนักงานบริการโทรศัพท์รัตภูมิ
 -  สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางอำเภอรัตภูมิ
ธนาคาร  ในพื้นที่ มี ๓ แห่ง ได้แก่
-  ธนาคารกรุงเทพ
-  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
-  ธนาคารออมสิน
-  สหกรณ์การเกษตร  มีจำนวน ๗ แห่ง ได้แก่
-  สหกรณ์การเกษตรรัตภูมิ จำกัด
-  สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านคลองเขาล้อน จำกัด
-  สหกรณ์กองทุนสวนยางบนควนพาราทอง จำกัด
-  สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านนิคมพัฒนาการยาง จำกัด
-  สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านห้วยโอน จำกัด
-  สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านท่ามะปรางยางทอง จำกัด
-  สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านคลองกั่ว จำกัด
-  โรงงานอุตสาหกรรม
-  โรงโม่หินพลศิลา
-  โรงโม่หินเขาพระ
-  บริษัทภาคใต้อุตสาหกรรมท่อน้ำไทย จำกัด
-  บริษัทเบทาโกรอาหารสัตว์  จำกัด
-  บริษัทสยามบรรจุภัณฑ์สงขลา จำกัด
-  บริษัทอาคเนย์คอนกรีต จำกัด
 ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP)  มีจำนวน ๖ ชนิด  ได้แก่
-  ผลิตภัณฑ์จากไม้เทพทาโร หมู่๕ ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ  จังหวัดสงขลา โทร ๐๘๙-๕๙๗๒๙๕๐
-  ปักฉลุลายชุดเจ้าสาว ๕๔๔ ม.๙ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา โทร ๐๘๑-๗๓๘๖๗๔๔
-  ปักฉลุลาย  ๕๓/๒ ม.๑๒  ตำบลกำแพงเพชร  อำเภอรัตภูมิ  จังหวัดสงขลา โทร ๐๘๖-๒๘๘๕๐๓๒
-  สุ่มไก่  กลุ่มผลิตภัณฑ์จักสาน  หมู่ที่ ๓  ตำบลท่าชะมวง  อำเภอรัตภูมิ  จังหวัดสงขลา
-  ไวน์กระชายดำ  หมู่ที่ ๑๑  ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ  จังหวัดสงขลา
การท่องเที่ยว
 -  โบราณสถานได้แก่  วัดจังโหลน หมู่ที่๑๑ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ  จังหวัดสงขลา 
วัดเขารักเกียรติ หมู่ที่๑๒  ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ  จังหวัดสงขลา 
 -  สถานที่ท่องเที่ยวตามธรรมชาติได้แก่น้ำตกโตนปลิว หมู่ที่๗ ตำบลท่าชะมวงอำเภอรัตภูมิจังหวัด สงขลา  น้ำตกบริพัตร หมูที่ ๑๐   ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ   จังหวัดสงขลา  ถ้ำศรีเกสรหมู่ที่ ๔  ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ  จังหวัดสงขลา  และทะเลทิพย์คีรี ม.๘ ต.คูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา 
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  ได้แก่  ป่าไม้  เหมืองหิน และแหล่งน้ำ  ดังนี้
 -  แหล่งน้ำธรรมชาติ  ได้แก่  คลองรัตภูมิ  และแอ่งน้ำทะเลทิพย์คีรี
 -  อุทยาน/วนอุทยาน/ป่า  ได้แก่  น้ำตกบริพัตร  ป่าชุมชนเขาพระ
การศึกษา 
          การศึกษาของอำเภอรัตภูมิ ขึ้นอยู่กับเขตพื้นที่การศึกษาที่ ๒  จังหวัดสงขลา มีจำนวนสถานศึกษาดังนี้     
  -  ระดับประถมศึกษา มีจำนวน ๓๗ แห่ง
 -  ระดับมัธยมศึกษา  มีจำนวน  ๔ แห่ง ได้แก่  โรงเรียนรัตภูมิวิทยา  โรงเรียนสิริวัณวรี ๒ สงขลา
โรงเรียนสายยิดวิทยา (เอกชน)  และโรงเรียนดารุลศาสตร์วิทยา (เอกชน)
 -  ระดับอาชีวศึกษา  มีจำนวน ๑แห่ง  ได้แก่ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา
 -  ระดับอุดมศึกษา  มีจำนวน ๑แห่ง ได้แก่  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (วิทยาลัยรัตภูมิ)
-  การศึกษานอกโรงเรียน  ๑ สถานศึกษา   ได้แก่  ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
 -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน ๗ แห่ง (๕ ตำบล ๒ เทศบาลตำบล)
 -  ห้องสมุด  จำนวน ๒ แห่ง  ได้แก่
                 ๑.ห้องสมุดประชาชนอำเภอรัตภูมิ 
                 ๒. ห้องสมุดโสภณพนาปรีชานุสรณ์ (วัดเขาตกน้ำ) อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
                ๔.๔ ทำเนียบผู้บริหาร
ลำดับที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่ง
๑. นายสมพร    สุคนธพันธุ์ หัวหน้าศูนย์ ๒ ก.พ.๒๕๓๗ - ๑๓ มี.ค.๒๕๔๑
๒. นายอรัญ       คงนวลใย ผู้อำนวยการ ๑๔ มี.ค.๒๕๔๑ - ๓ ก.ค.๒๕๔๖
๓. นางวิบูลผล   พร้อมมูล ผู้อำนวยการ ๔ ก.ค.๒๕๔๖ - ๑๑ ต.ค.๒๕๕๒
๔. นายศรียุทธ์    ภู่ริยะพันธ์ ผู้อำนวยการ ๑๒ ต.ค.๒๕๕๒ - ๓๐ ก.ย.๒๕๕๓
๕. นายธนากร เกื้อกูล ผู้อำนวยการ ๒๘ ต.ค. ๒๕๕๓ -๑๖ ธ.ค. ๒๕๕๓
๖. นายจตุรภัทร เวชสิทธิ์ ผู้อำนวยการ ๔ ก.พ. ๒๕๕๔ - ปัจจุบัน
 
๕.โครงสร้างสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ
๖. งบประมาณที่ได้รับ
 ๖.๑ เงินงบประมาณ                     ๑,๖๙๖,๓๐๔     บาท
 ๖.๒ เงินนอกงบประมาณ                   ๗๐,๐๐๐      บาท
๗. การใช้จ่ายงบประมาณ
ที่ ชื่องาน/โครงการ จัดสรร   เบิกจ่าย%
๑. อุดหนุน-ซื้อหนังสือ ๒๗๐,๑๕๖.๐๐  ๑๐๐.๐๐
๒. อุดหนุน-พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๒๖๗,๐๕๐.๐๐  ๑๐๐.๐๐
๓. อุดหนุน-ค่าตอบแทนรายหัวขั้นพื้นฐาน  ๓๓๑,๐๐๐.๐๐  ๑๐๐.๐๐
๔. อุดหนุน-ค่าตอบแทนรายหัวครูสอนผู้พิการ  ๑๗๗,๑๑๖.๐๐  ๑๐๐.๐๐
๕. นอกระบบ-ส่งเสริมการรู้หนังสือ ๔๑,๘๐๐.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๖. นอกระบบ-พัฒนาทักษะอาชีพ ๔๐,๐๐๐.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๗. นอกระบบ-พัฒนาทักษะพัฒนาทักษะชีวิต/พัฒนาคุณภาพ ชีวิต  ๑๕,๗๕๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐
๘. นอกระบบ-การจัดการศึกษาสำหรับผู้สูงอายุ  ๑๐,๐๐๐.๐๐  ๑๐๐.๐๐
๙. นอกระบบ-ค่าสาธารณูปโภค ๑๓,๘๔๔.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๑๐. นอกระบบบริหาร ๑๔,๐๐๐.๐๐    ๑๐๐.๐๐
๑๑. นอกระบบ-เบี้ยประชุมกรรมการ ๓,๔๐๐.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๑๒. นอกระบบ – ค่าจัดทำข้อมูลกองทุนสตรี  ๔,๑๑๔.๐๐  ๑๐๐.๐๐
๑๓. อัธยาศัย-บริหารห้องสมุด ๓๐,๐๐๐.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๑๔. อัธยาศัย-ค่าหนังสือพิมพ์ห้องสมุด ๗,๔๖๐.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๑๕. อัธยาศัย-ค่าวารสารห้องสมุด ๑๒,๐๐๐.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๑๖. อัธยาศัย-ค่าจ้างนักการ ๖๕,๗๖๐.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๑๗. อัธยาศัย-ค่าสาธารณูปโภคห้องสมุด  ๘,๘๐๐.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๑๘. อัธยาศัย-ค่าหนังสือพิมพ์ กศน.ตำบล  ๑๐,๖๕๐.๐๐  ๑๐๐.๐๐
๑๙. อัธยาศัย-กิจกรรมจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับตำบล ๖,๐๐๐.๐๐  ๑๐๐.๐๐
๒๐. ชายแดน-ภาษาพาสันติสุข ๓๖,๐๐๐.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๒๑. ชายแดน-เปิดโลกผู้สูงอายุ ๒๖,๕๐๐.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๒๒. ชายแดน-เกษตรธรรมชาติ ๙๐,๐๐๐.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๒๓. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ๙๐,๐๐๐.๐๐   ๑๐๐.๐๐
๒๔. งบรายจ่ายอื่น เขต๕ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ๑๐๕,๒๖๔.๐๐ ๑๐๐.๐๐
๒๕. งบรายจ่ายอื่น-โครงการพัฒนาตำราเพื่อการส่งเสริมการศึกษา ๔,๐๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐
๒๖. งบรายจ่ายอื่น-บริหารจัดการงานเทียบระดับการศึกษา ๑๕,๖๔๐.๐๐  ๑๐๐.๐๐
 รวม ๑,๖๙๖,๓๐๔.๐๐    ๑๐๐.๐๐
 
๘. สิ่งอำนวยความสะดวก 
 ๑. คอมพิวเตอร์        จำนวน   ๒๕  เครื่อง
 ๒. พริ้นเตอร์        จำนวน   ๖    เครื่อง
 ๓. รถมอเตอร์ไซด์      จำนวน   ๑    คัน
 ๔. โทรทัศน์             จำนวน   ๒    เครื่อง
 ๕. อินเตอร์เน็ต         จำนวน   ๒    ชุด
 ๙. แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย
    ๙.๑ แหล่งเรียนรู้
       ๙.๑.๑ กศน.ตำบล
ที่ ชื่อ กศน.ตำบล ที่ตั้ง     ผู้รับผิดชอบ
๑.  กศน. ตำบลกำแพงเพชร หมู่ที่ ๑ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา นายสุวรรณ  อ่อนรักษ์
๒.  กศน. ตำบลคูหาใต้ หมู่ที่ ๔ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา  นางวิซชุตา  คงมัยลิก
๓.  กศน. ตำบลควนรู หมู่ที่ ๔ ตำบลควนรู  อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา  นายวสันติ์  หมาดโหร
๔.    กศน. ตำบลท่าชะมวง หมู่ที่๔ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา  นางสาวสิริมนต์  สุนทราภรณ์
๕.    กศน. ตำบลเขาพระ หมู่ที่ ๓ ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา  นายพุทธพร  รัตนอุไร
๙.๑.๒ ศูนย์การเรียนชุมชน 
ที่ ชื่อ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ
  ๑.      ศรช. วัดใหม่ทุ่งคา หมู่ที่ ๘ ตำบลกำแพงเพชร               อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา นายสุวรรณ อ่อนรักษ์
  ๒.      ศรช. บ้านห้วยหว้า หมู่ที่ ๘ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา นายพรพล  พุทธวิโร
๙.๑.๓ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ที่ ชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสามารถและประสบการณ์  ที่อยู่
๑. นายเจื้อน แก้วเพชร การแกะสลักไม้   ๑๓๖/๑ หมู่ ๕  ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๒. นายผ่อง ปราบณรงค์ หมอสมุนไพร รักษาโรคเริม            แก้พิษงู ๑๖๕ หมู่ ๕  ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๓. นายสวัสดิ์ อ่อนทอง งานหัตกรรม เช่น สานอุปกรณ์การจับปลา ทำว่าว ๑๑ หมู่ ๕ ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๔. นางสุภาพร สุโข  งานหัตกรรม เย็บจากมุมหลังคา  ๔๘ หมู่ ๕ ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๕. นางสาวสุระเสนี  หมอตำแยพื้นบ้าน  ๓๙ หมู่ ๕  ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๖. นายอภินันท์  หมัดหลี เกษตรธาตุ ๔    หมู่ ๖  ต.เขาพระ  อ.รัตภูมิ
๗. นายเจิม ไตรวรรณ เย็บเสื้อผ้า (ปัจจุบันซ่อมอย่างเดียว) ๑๖๑ หมู่ ๕ ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๘. กลุ่มผลิตขนมจีนบ้าน การทำเส้นขนมจีน  หมู่ ๔  ต.ควนรู  อ.รัตภูมิ
๙. นางผิว คงสม  การทำน้ำพริก   หมู่ ๔  ต.ควนรู  อ.รัตภูมิ
๑๐. นางแสงจันทร์ จันทโร การดอกไม้จันทน์   หมู่ ๕ ต.ควนรู  อ.รัตภูมิ
๑๑. นายเจือ  เม่งช่วย  การเพาะเห็ด   หมู่ ๑๔  ต.ท่าชะมวง  อ.รัตภูมิ
๑๒. นายชิต  ขวัญคำ  เศรษฐกิจพอเพียง   หมู่ ๓   ต.เขาพระ  อ.รัตภูมิ
๑๓. นายเล็ก  พรรณศรี การทำปุ๋ย    หมู่ ๓  ต.เขาพระ  อ.รัตภูมิ
 
 ภูมิปัญญาท้องถิ่นกลุ่มหัตกรรม
ที่ ชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสามารถและประสบการณ์  ที่อยู่
๑. นายประสิทธิ์  หมุดยะฝ่า การจักสานสุ่มไก่   หมู่ ๓ ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๒. นางวันดี เพ็ชรคำ  งานช่างฝีมือ   หมู่ ๖ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๓. นางน้อย  แก้วมณี  การทำเสวียนหม้อ  หมู่ ๖ ต.ท่าชะมวง  อ.รัตภูมิ
๔. นางแกวด  ศรีอักษร การจักสานใบพ้อ   หมู่  ๖ ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๕. นายรออี  จันทร์ทอง การสานแผงไม้ไผ่  หมู่ ๓ ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๖. นายสุภาพ  สังข์ทอง การสานแข่ง   หมู่ ๓ ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๗. นางเวียง พาหุมันโต  การจักสาน   หมู่ ๓ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๘. นายหมัน  บรูณ์เพชร การจักสาน   หมู่ ๑ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๙. นายชื่นขวัญ  ศรีขวัญ การทำ กระดุ้ง, สุ่ม  หมู่ ๕ ต.ควนรู อ.รัตภูมิ
๑๐. นางอุไรวรรณ  คงสม ดอกไม้จันทน์   หมู่ ๕ ต.ควนรู  อ.รัตภูมิ
๑๑. นายนที  ศรีสุวรรณ ช่างแกะสลักโฟม   แทงหยวก  หมู่ ๗ ต.รัตภูมิ  อ.รัตภูมิ
๑๒. นายเกลื้อม  ศิริวัฒน์  ช่างแกะสลักไม้,รูปหนังตะลุง  หมู่ ๒ ต.รัตภูมิ  อ.รัตภูมิ
๑๓. นายจำรัส เพ็ชรมาศ จักสาน   หมู่ ๑๐ ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ
๑๔. นายอิน รัตนกุล  ลายกนก   หมู่ ๑ ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ
                  ภูมิปัญญาท้องถิ่นกลุ่มเกษตรกรรม
ที่ ชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสามารถและประสบการณ์  ที่อยู่
๑. นายวิโรจน์ วิจิตรสงวน ปลูกมังคุด   หมู่ ๑๑ ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๒. นายสุ๊บ  หลีหีม   ปลูกแตงโม   หมู่ ๘ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๓. นายเถี้ยง  ไชยรักษ์ เลี้ยงสุกร   หมู่ ๓ ต.ควนรู   อ.รัตภูมิ
๔. นายประเสริฐ  ศรีงาม เลี้ยงปลา   หมู่ ๔ ต. ควนรู   อ.รัตภูมิ
๕. นายสะมะแด  แขกพงศ์ ปลูกแตงโม   หมู่ ๕ ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
ที่ ชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสามารถ
และประสบการณ์ ที่อยู่
๖. นายหมัดยูโส๊ะ  เพ็ญหมุด ปลูกส้มโชกุน   หมู่ ๘ ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๗. นายอิบร่อหีม  สลำ ปลูกทุเรียน , เงาะ  หมู่ ๘ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๘. นางนิต  สุวรรณโณ ปลูกบัวบก   หมู่ ๑๓ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๙. นายสมบัติ  ศรีสุวรรณ เลี้ยงจระเข้   หมู่ ๔ ต. ควนรู อ.รัตภูมิ
๑๐. นายน้อย  อรุโณทัย  เพาะพันธุ์ปลา   หมู่ ๑ ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๑๑. นายสกุล  โสนเส็น เลี้ยงนกกระทา   หมู่ ๔  ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๑๒. นายชอบ  ลือขจร  เลี้ยงปลานิล   หมู่ ๑๓ ต. ท่าชะมวง  อ.รัตภูมิ
                     
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกลุ่มศาสนา   ประเพณี  และพิธีกรรม
ที่ ชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสามารถและประสบการณ์  ที่อยู่
๑. นายชัย  ตรีพงศ์  ศาสนา   ประเพณี  และพิธีกรรม  หมู่ ๑๑ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๒. นายชอบ  จันทร์ปาน ศาสนา   ประเพณี  และพิธีกรรม  หมู่ ๑๐ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๓. นายเคลื่อน  พงศ์ชาตรี ศาสนา   ประเพณี และพิธีกรรม  หมู่ ๑๓  ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๔. นายชื่น  จันทวีรัตน์  ศาสนา   ประเพณี และพิธีกรรม  หมู่ ๒  ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๕. นายสนิท  จันทวาท ศาสนา   ประเพณี  และพิธีกรรม  หมู่ ๔ ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๖. นายเรือง   สุวรรณชาตรี ศาสนา   ประเพณี และพิธีกรรม  หมู่ ๕ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๗. นายสมพร  สระมุณี  ศาสนา   ประเพณี  และพิธีกรรม  หมู่ ๖ ต. กำแพงเพชร อ. รัตภูมิ
๘. นายร่วง  มะโร  ศาสนา   ประเพณี  และพิธีกรรม  หมู่ ๖ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๙. นายสืบ  ทองรักษ์ ศาสนา   ประเพณี 
และพิธีกรรม หมู่ ๖ ต.กำแพงเพชร อ. รัตภูมิ
๑๐. นายแคล้ว  ทองขวัญ  ศาสนา   ประเพณี
 และพิธีกรรม หมู่ ๘ ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๑๑. นายนิตย์  มณี  ศาสนา   ประเพณี 
และพิธีกรรม หมู่ ๘ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ

ภูมิปัญญาท้องถิ่นกลุ่มศิลปะและการแสดง
ที่ ชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสามารถ
และประสบการณ์ ที่อยู่
๑. นายคง  พรหมทอง การรำมโนราห์ หมู่ ๘ ต. ควนรู อ.รัตภูมิ
๒. นายช่วง  อินทะสะระ การแสดงหนังตะลุง หมู่ ๔ ต. ควนรู  อ.รัตภูมิ
๓. นายผล  คงสม  มโนราห์ดับ หมู่ ๕ ต. ควนรู อ.รัตภูมิ
๔. นางยุพา  บุญมาก การรำมโนราห์ หมู่ ๖ ต. ควนรู  อ.รัตภูมิ
๕. เด็กหญิงละอองดาว หวังหมู่ การรำมโนราห์ หมู่ ๘ ต.ควนรู อ.รัตภูมิ
๖. นายประสมค์  พงศ์จักรี การแสดงมโนราห์ หมู่ ๔ ต. ควนรู  อ.รัตภูมิ
๗. นางศิว  คงสม การรำมโนราห์ หมู่ ๔ ต. ควนรู อ.รัตภูมิ
๘. นายทวี  เพชรมณี รำกลองยาว หมู่ ๑๐ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๙. นายรุ่งนภา   ณ โมราห์ การแสดงมโนราห์ หมู่ ๔ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๑๐. นายเลียน  แก้วรัตน์ การแสดงมโนราห์ หมู่ ๗ ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๑๑. นายสมพงศ์  ทองนพคุณ การแสดงมโนราห์ หมู่ ๗ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๑๒. นายจำรอง  ทองเส้ง การแสดงหนังตะลุง หมู่ ๗ ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๑๓. นายจับ  กายฤทธิ์ ศิลปะการแสดงและดนตรี หมู่ ๔ ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๑๔. นายอุทิศ  สังข์สวัสดิ์ ศิลปะการแสดงและดนตรี หมู่ ๖ ต. กำแพงเพชร  อ. รัตภูมิ
๑๕. นายกระจ่าง  สุวรรณชาตรี ศิลปะการแสดงและดนตรี หมู่ ๗ ต.กำแพงเพชร อ. รัตภูมิ
๑๖. นายทะนงศักดิ์  นวลแผลง ศิลปะการแสดงและดนตรี หมู่ ๗ ต.กำแพงเพชร  อ. รัตภูมิ
๑๗. นายเจริญ  พรหมจรรย์  ศิลปะการแสดงและดนตรี หมู่ ๗ ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๑๘. นายสถิต แก้วเพ็ง การรำกลองยาว หมู่ ๑๐ ต. กำแพงเพชร อ. รัตภูมิ
๑๙. นายปราโมทย์  สุขพันธ์ การรำลองยาว หมู่ ๑๐ ต.กำแพงเพชร อ. รัตภูมิ
๒๐. นายแผ้ว   แก้วเรือง การรำกลองยาว หมู่ ๑๒ ต.กำแพงเพชร  อ. รัตภูมิ
๒๑. นายไพโรจน์ บัวสม กลองยาว หมู่ ๔  ต.ควนรู  อ. รัตภูมิ
๒๒. นายสมศักดิ์  ไชยถาวร การแสดงดนตรี หมู่ ๑๑ ต.คูหาใต้ อ. รัตภูมิ
๒๓. นายจบ  อ่อนวิก ปี่พาทย์  กาหล่อ  หมู่ ๓ ต. ควนรู  อ. รัตภูมิ
๒๔. นายสวัสดิ์  สุจิตติ ทำลายกนกไทย หมู่ ๑๓ ต.รัตภูมิ  อ.รัตภูมิ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกลุ่มศิลปะ
 
 

ภูมิปัญญาท้องถิ่นกลุ่มโภชนาการ
ที่ ชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสามารถ
และประสบการณ์ ที่อยู่
๑. นางอ้วน  หนูราช  ทำข้าวหลาม หมู่ ๖  ต.ควนรู  อ. รัตภูมิ
๒. นางสุนีย์  คงเอี่ยม  ทำข้าวหลาม หมู่ ๖ ต.ควนรู อ. รัตภูมิ
๓. นางอุไร  จันนุ้ย ทำข้าวหลาม หมู่ ๖ ต. ควนรู  อ. รัตภูมิ
๔. นางเรียม  มากมณี อาหารและโภชนาการ หมู่ ๔ ต.กำแพงเพชร อ. รัตภูมิ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกลุ่มภาษาและวรรณกรรม
ที่ ชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสามารถ
และประสบการณ์ ที่อยู่
๑. นายอเนก  น่ำทอง ภาษาบาลี หมู่ ๕ ต. ควนรู อ. รัตภูมิ
๒. นางเคล้า  คงสม ภาษาบาลี หมู่๕ ต. ควนรู  อ. รัตภูมิ
๓. นายเล็ก  คงสม ภาษาบาลี หมู่ ๔ ต. ควนรู  อ. รัตภูมิ
               
    ๙.๑.๔ แหล่งเรียนรู้อื่น
ที่ ชื่อ แหล่งเรียนรู้อื่น ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตั้ง
๑. การทำปุ๋ยเกษตรธาตุ  ๔  การสาธิตการทำปุ๋ยเกษตรธาตุ ๔ หมู่ ๕ ต. ควนรู  อ.รัตภูมิ
๒. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนการเกษตรบ้านหนองเสาธง การเกษตร หมู่ ๖ ต. ควนรู อ. รัตภูมิ
๓. ศูนย์การบริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ประจำตำบลควนรู การเกษตร หมู่ ๖ ต. ควนรู อ. รัตภูมิ
๔. กลุ่มทำขนมสตรีพัฒนาบ้านนอก ขนมพื้นบ้าน หมู่ ๔ ต. ท่าชะมวง  อ. รัตภูมิ
๕. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านนาลึก เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ ๓ ต. เขาพระ อ. รัตภูมิ
๖. แหล่งเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์  การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ หมู่ ๓  ต. เขาพระ อ. รัตภูมิ
๗. กลุ่มทำขนม การทำขนม หมู่ ๖ ต. เขาพระ อ. รัตภูมิ
๘. ศูนย์ ICT  หมู่บ้านนาบาป ศูนย์ ICT หมู่ ๔ ต. คูหาใต้  อ. รัตภูมิ
๙. หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงบ้านนาบาป เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ ๔ ต. คูหาใต้  อ. รัตภูมิ
๑๐. กลุ่มออมทรัพย์บ้านนาบาป สหกรณ์ออมทรัพย์ หมู่ ๔ ต. คูหาใต้  อ. รัตภูมิ
๑๑. พิพิธภัณฑ์อำเภอรัตภูมิ พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน หมู่ ๑ ต. กำแพงเพชร               อ. รัตภูมิ
๑๒. วัดเขาตกน้ำ หอสมุดวัดเขาตกน้ำ หมู่ ๑ ต. กำแพงเพชร                อ. รัตภูมิ
๑๓. ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน  ตำบลควนรู แผนชุมชน หมู่ ๔ ต.ควนรู อ.รัตภูมิ
๑๔. ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงบ้าน                   เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ ๑๔ ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
ที่ ชื่อ แหล่งเรียนรู้อื่น ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตั้ง
 หนองไม้แก่น  
๑๕. วัดถ้ำเขาพระ โบราณสถาน หมู่ ๑๑ ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ
๑๖. กลุ่มจักสาน หัตถกรรม หมู่ ๑๐ ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ
๑๗. ป่าชุมชน การอนุรักษ์ป่า หมู่ ๕ ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ
๙.๒ ภาคีเครือข่าย
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 
ที่ ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่
๑. เทศบาลเมืองกำแพงเพชร หมู่ ๖ ต. กำแพงเพชร อ. รัตภูมิ
๒. เทศบาลตำบลกำแพงเพชร หมู่ ๑ ต.  กำแพงเพชร  อ. รัตภูมิ
๓. เทศบาลตำบลนาสีทอง หมู่ ๑ ต. เขาพระ อ. รัตภูมิ
๔. องค์การบริหารส่วนตำบลคูหาใต้ หมู่ ๗ ต. คูหาใต้ อ. รัตภูมิ
๕. องค์การบริหารส่วนตำบลเขาพระ  หมู่ ๓  ต. เขาพระ  อ. รัตภูมิ
๖. องค์การบริหารส่วนตำบลท่าชะมวง  หมู่ ๕  ต. ท่าชะมวง  อ. รัตภูมิ
๗. องค์การบริหารส่วนตำบลควนรู หมู่ ๔  ต. ควนรู  อ. รัตภูมิ
๘. ศูนย์CLC(ฟื้นฟูผู้พิการ) หมู่ ๔ ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๙. กองทุนแม่ของแผ่นดิน หมู่ ๔ ต.คูหาใต้ อ.รัตภูมิ
๑๐. สำนักงานสาธารณะสุขอำเภอ หมู่ ๑ ต.กำแพงเพชร  อ. รัตภูมิ
๑๑. ศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาไทยเกษตรธาตุ๔ หมู่ ๖ ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ
๑๒. วัดใหม่ทุ่งคา หมู่ ๘ ต.กำแพงเพชร  อ. รัตภูมิ
๑๓. วัดคูหาใน หมู่ ๓ ต.คูหาใต้ อ.รัตภูมิ
๑๔. กลุ่มพัฒนาสตรีคูหาใต้ หมู่๑๔ ต.คูหาใต้ อ.รัตภูมิ
๑๕. ชมรมเดินไปคุยไป ต.กำแพงเพชร  อ. รัตภูมิ
๑๖. ชมรมผู้สูงอายุ กศน.อำเภอรัตภูมิ ต.กำแพงเพชร  อ. รัตภูมิ
๑๗. กลุ่มขนมจีนบ้านเกาะเหรียง ม.๖ ต.ควนรู อ.รัตภูมิ
 

หน่วยงานราชการประกอบด้วย
ที่ ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่
๑. สำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลา สาขารัตภูมิ หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๒. สำนักงานประมงอำเภอรัตภูมิ หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๓. สำนักงานปศุสัตว์อำเภอรัตภูมิ หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
ที่ ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่
๔. สำนักงานเกษตรอำเภอรัตภูมิ หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๕. หน่วยควบคุมโรคนำโดยแมลงที่ ๓      หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๖. โรงพยาบาลรัตภูมิ หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
 หน่วยงานราชการประกอบด้วย
ที่ ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่
๑. สถานีอนามัยบ้านคลองยางแดง หมู่ที่ ๔ ตำบลท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๒. ฝายบำรุงรักษาที่ ๓ สงขลา ( ท่าชะมวง ) หมู่ที่ ๓ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๓. สำนักงานสาธารสุขอำเภอรัตภูมิ หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๔. สำนักงานสัสดีอำเภอรัตภูมิ หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๕. สำนักงานสรรพากรอำเภอรัตภูมิ หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๖. สถานีตำรวจภูธรอำเภอรัตภูมิ หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
              
      หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย
ที่ ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่
๑. การการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอรัตภูมิ  หมู่ที่ ๓ ต. ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๒. ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขอำเภอรัตภูมิ  หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๓. สำนักงานบริการโทรศัพท์รัตภูมิ  หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๔. สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง  หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
 ธนาคารประกอบด้วย
ที่ ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่
๑. ธนาคารกรุงเทพ  หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๒. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์  หมู่ที่ ๖ ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
๓. ธนาคารออมสิน  หมู่ที่ ๑ ต. กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
 สถานศึกษา ประกอบด้วย
ที่ ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่
๑. ระดับประถมศึกษา มี ๓๗ แห่ง ในเขตพื้นที่อำเภอรัตภูมิ สงขลา เขต ๒
๒. ระดับมัธยม มี ๔ แห่ง
  -โรงเรียนรัตภูมิวิทยา
  -โรงเรียนสิริวัณวรีสงขลา
  -โรงเรียนสายยิดวิทยา (เอกชน)
  -โรงเรียนดารุลศาสตร์วิทยา (เอกชน) 
หมู่ ๑๑ ตำบลกำแพงเพชร อ.รัตภูมิ
หมู่ ๗ ตำบลคูหาใต้ อ.รัตภูมิ
หมู่๓ ตำบลท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
หมู่๔ ตำบลท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๓. ระดับอาชีวศึกษา
    -วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา หมู่๓ ตำบลท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๔. ระดับอุดมศึกษา
    -มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (วิทยาลัยรัตภูมิ) หมู่ ๑๔ ตำบลท่าชะมวง อ.รัตภูมิ
๑๐. เกียรติยศ ชื่อเสียง และผลงาน/โครงการดีเด่นของสถานศึกษา
                         ๑๐.๑  ห้องสมุดประชาชนดีเด่นระดับจังหวัด
                          ๑๐.๒  ภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภทแหล่งเรียนรู้ ระดับจังหวัด                         
๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกที่ผ่านมา
        ๑๑.๑ ผลการประเมินคุณภาพภายในภาพรวมของสถานศึกษา 
  
มาตรฐาน รายละเอียดมาตรฐาน ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินฯโดยต้นสังกัด
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ม๑ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายวัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๔.๖๖ ดีมาก ๔.๐๐ ดี
ม๒ การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓.๗๑ ดี ๓.๕๗ ดี
ม๓ การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษาต่อเนื่อง ๓.๖๐ ดี ๓.๖๐ ดี
ม๔ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๔.๕๐ ดี ๔.๗๕ ดีมาก
ม๕ การบริหารจัดการ ๔.๐๐ ดี ๓.๖๗ ดี
ม๖ การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ๔.๐๐ ดี ๔.๕๐ ดี
ภาพรวมของสถานศึกษา ๔.๐๘ ดี ๔.๐๐ ดี
 
 ๒) ผลการประเมินคุณภาพภายในรายมาตรฐาน
 มาตรฐานที่ ๑ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนพัฒนา
         คุณภาพการศึกษา
ตัวบ่งชี้ รายละเอียดตัวบ่งชี้ ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินฯโดยต้นสังกัด
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ต๑.๑ ปรัชญา วิสัยทัศน์พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์กลยุทธ์ การดำเนินงานสอดคล้องกัน ๕ ดีมาก 
๕ 
ดีมาก
ต๑.๒ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาแลแผนปฏิบัติการประจำปีครอบคลุมทุกพันธกิจ ๕ ดีมาก 
๔ 
ดี
ต๑.๓ การกำกับ ติดตามการดำเนินงานเป็นไปตามแผนและนำผลไปใช้ในการพัฒนา ๔ ดี 
๓ 
พอใช้
ภาพรวมมาตรฐาน๑ ๔.๖๖ ดีมาก ๔.๐๐ ดี
มาตรฐานที่ ๒การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวบ่งชี้ รายละเอียดตัวบ่งชี้ ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินฯโดยต้นสังกัด
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ต๒.๑ การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ๓ พอใช้ ๓ พอใช้
ต๒.๒ การพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ๔ ดี ๔ ดี
ต๒.๓ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๔ ดี ๓
 พอใช้
ต๒.๔ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามหลักการจัดการศึกษานอกระบบ ๔ ดี 
๔ 
ดี
ต๒.๕ คุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ๔ ดี ๔ ดี
ต๒.๖ คุณภาพของพนักงานราชการ ครูอัตราจ้างและครูสอนเสริม ๔ ดี ๔ ดี
ต๒.๗ คุณภาพของผู้เรียน/ผู้สำเร็จการศึกษานอกระบบ ๓ พอใช้ ๓ พอใช้
ภาพรวมมาตรฐาน๒ ๓.๗๑ ดี ๓.๕๗ ดี
              มาตรฐานที่ ๓     การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษาต่อเนื่อง
ตัวบ่งชี้ รายละเอียดตัวบ่งชี้ ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินฯโดยต้นสังกัด
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ต๓.๑ การพัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของท้องถิ่น ๓ พอใช้ 
๓ 
พอใช้
ต๓.๒ สื่อและแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตร และกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ๔ ดี 
๓ 
พอใช้
ต๓.๓ ครูและผู้สอนมีความสามารถในการจัดกระบวน การเรียนรู้ตามหลักสูตร ๓ พอใช้ 
๔ 
ดี
ต๓.๔ คุณภาพครูและผู้สอน ๔ ดี ๔ ดี
ต๓.๕ คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการเป็นไปตามที่หลักสูตรกำหนด ๔ ดี 
๔ 
ดี
ภาพรวมมาตรฐาน๓ ๓.๖๐ ดี ๓.๖๐ ดี
                                      
มาตรฐานที่ ๔  การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
ตัวบ่งชี้ รายละเอียดตัวบ่งชี้ ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินฯโดยต้นสังกัด
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ต๔.๑ สื่อและแหล่งการเรียนรู้มีหลากหลายเพียงพอและตอบสนองกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ๔ ดี ๕ 
ดีมาก
ต๔.๒ กระบวนการจัดการมีคุณภาพเอื้อต่อการเรียนรู้ ๕ ดีมาก 
๕ 
ดีมาก
ต๔.๓ คุณภาพของบุคลากรในการจัดการศึกษา ๔ ดี ๕ ดีมาก
ต๔.๔ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ๕ ดีมาก ๔ ดี
ภาพรวมมาตรฐาน ๔ ๔.๕๐ ดี ๔.๗๕ ดีมาก
 
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการ
ตัวบ่งชี้ รายละเอียดตัวบ่งชี้ ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินฯโดยต้นสังกัด
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ต๕.๑ ผู้บริหารมีสมรรถนะในการบริหารองค์กร ๕ ๕ ๕ ดีมาก
ต๕.๒ คุณภาพของการบริหารจัดการ ๕ ๕ ๔ ดี
ต๕.๓ คุณภาพของการพัฒนาบุคลากร ๕ ๔ ๔ ดี
ต๕.๔ คุณภาพการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๕ ๓ ๑ ต้องปรับปรุง
ต๕.๕ มีระบบประกันคุณภาพภายใน ๕ ๔ ๔ ดี
ต๕.๖ การจัดระบบข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ๕ ๓ ๔ ดี
ภาพรวมมาตรฐาน ๕ ๕ ๔.๐๐ ๓.๖๗ ดี
มาตรฐานที่ ๖ การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย
ตัวบ่งชี้ รายละเอียดตัวบ่งชี้ ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินฯโดยต้นสังกัด
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ต๖.๑ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๕ ๕ 
๔ 
ดี
ต๖.๒ การสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๕ ๓ 
๕ 
ดีมาก
ภาพรวมมาตรฐาน ๖ ๕ ๔.๐๐ ๔.๕ ดี
                   ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 
จากการประเมินตนเอง จากการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด
๑.   ผู้เรียนการศึกษาพื้นฐานที่จบหลักสูตรตามเกณฑ์ที่กำหนด อยู่ในระดับปรับปรุง  ปัจจัยที่ส่งผลเนื่องมาจากผู้เรียน  กศน.              ส่วนใหญ่อยู่ในวัยผู้ใหญ่ และวัยแรงงาน                มีภาระหน้าที่ในการประกอบอาชีพ ทำให้ผู้เรียนมีปัญหาด้านการเรียน ๑.การพัฒนาระบบการบริหารงาน โครงการ ตามวงจรคุณภาพ PDCA ควรปรับปรุงระบบ
การวางแผนให้บุคคลที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการกำหนดแผนพัฒนาคุณภาพและแผนปฏิบัติการ  จัดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายในและมีการรายงานผลการติดตามผลการดำเนินงานเป็นเอกสาร และมีข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงและสามารถปฏิบัติได้
๒.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่าร้อยละ ๗๐
 ๒.การพัฒนาศักยภาพบุคลากร  ควรจัดให้มีการจัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลเพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทำโครงการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานในหน้าที่  เช่นความรู้เข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ การออกแบบและจัดทำแผนการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล วิธีการออกข้อสอบแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย การจัดทำวิจัย
ชั้นเรียน และการนำผลการวิจัยมาปรับปรุงการเรียนการสอน 
รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบแผน กับผลการพัฒนารายบุคคล
 เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดโครงการพัฒนาบุคลากรปีต่อไป
 
 
จากการประเมินตนเอง จากการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด
๓.ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ตรงกับความรู้ความสามารถที่จะนำมาพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๓.การส่งเสริมการจัดการศึกษาของกศน. ตำบล และ ศรช. ประจำหมู่บ้าน/ชุมชนให้เป็นไป 
ตามเกณฑ์มาตรฐานที่สำนักงาน กศน. กำหนด  โดยสนับสนุนให้ครู กศน. ใช้มาตรฐาน กศน. ตำบลเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงาน  ควรจัดให้มีการประเมินกศน. ตำบลโดยกรรมการประเมินภายในของสถานศึกษา และมีการรายงานผลเป็นเอกสาร และส่งเสริมให้มีการปรับปรุงพัฒนากศน. ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
๔.ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้  โดยให้ผู้เรียน  ผู้รับบริการ สามารถค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้และสื่อ ต่างๆ ที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง ๔.การพัฒนานักศึกษา กศน..ให้มีความรู้ ทักษะ เจคติ  ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร  ทั้งหลักสูตรการศึกษาพื้นฐานและการศึกษาต่อเนื่อง  โดยการส่งเสริมการช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหาในการเรียน หรือการมาพบกลุ่ม การจัดสอนเสริมนอกรอบปกติ การจัดหาวิทยากรที่ชำนาญในสาขาเนื้อหามาเป็นวิทยากรสอนเสริม  และมีการประชุมครู นักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดมาตรการและสร้างแรงจูงใจให้มีจำนวนนักศึกษา ที่สามารถจบหลักสูตรในปริมาณที่สูงขึ้น
๕.การประชาสัมพันธ์กิจกรรมยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ 
๑.๒ ผลการประเมินคุณภาพภายนอก
                            สถานศึกษาได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก ระหว่างวันที่  ๑๕  -๑๗  เดือน มิถุนายน    พ.ศ.  ๒๕๕๒
1) ผลการประเมินคุณภาพภายนอกภาพรวมของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ รายระเอียดมาตรฐาน ผลการประเมิน
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
๑ ปรัชญา วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนการจัดการศึกษา ๓.๖๗ ดีมาก
๒ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ ๒.๘๙ ดี
๓ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ๓.๗๕ ดีมาก
๔ การบริหารจัดการ ๓.๗๕ ดีมาก
๕ การประกันคุณภาพภายใน ๔.๐๐ ดีมาก
ภาพรวมของสถานศึกษา ๓.๖๑ ดีมาก
๒).  ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรายมาตรฐานของสถานศึกษา
   มาตรฐานที่ ๑  ปรัชญา วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนการจัดการศึกษา
ตัวบ่งชี้ รายละเอียดตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ต๑.๑ ปรัชญา วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนการจัดการศึกษา ๔ ดีมาก
ต๑.๒ สถานศึกษามีแผนการจัดการศึกษา รวมทั้งมีการกำหนด ตัวบ่งชี้ความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนอย่างครบถ้วน ๓ ดี
ต๑.๓ สถานศึกษาดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติการประจำปีของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ/เขต ๔ ดีมาก
ภาพรวมมาตรฐาน ๑ ๓.๖๗ ดีมาก
 
มาตรฐานที่ ๒ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ
ตัวบ่งชี้ รายละเอียดตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ต๒.๑ คุณภาพของหลักสูตร ๓ ดี
ต๒.๒ คุณภาพของครู ๔ ดีมาก
ต๒.๓ ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู ๔ ดีมาก
ต๒.๔ คุณภาพของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๒ พอใช้
ต๒.๕ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ๔ ดีมาก
ต๒.๖ สุขภาวะและสุนทรียภาพของผู้เรียน ๔ ดีมาก
ต๒.๗ ความรู้ความสามารถและผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ๓ ดี
ต๒.๘ คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา ๑ ปรับปรุง
ต๒.๙ ผู้เรียนที่สำเร็จการศึกษาตามเกณฑ์ ๑ ปรับปรุง
ภาพรวมมาตรฐาน ๒ ๒.๘๙ ดี

   มาตรฐานที่๓ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต
ตัวบ่งชี้ รายละเอียดตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ต๓.๑ คุณภาพของหลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ๔ ดีมาก
ต๓.๒ ผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิตเป็นไปตามเป้าหมาย ๔ ดีมาก
ต๓.๓ ผู้เข้ารับบริการมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต
๔ ดีมาก
ต๓.๔ คุณภาพของการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อการพัฒนาตนเองและส่งเสริม
การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๓ ดี
ภาพรวมมาตรฐาน ๓ ๓.๗๕ ดีมาก
มาตรฐานที่๔ การบริหารจัดการ
ตัวบ่งชี้ รายละเอียดตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ต๔.๑ คุณภาพของแผนพัฒนาบุคลากร ๔ ดีมาก
ต๔.๒ คุณภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ๔ ดีมาก
ต๔.๓ ความสำเร็จในการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ๓ ดี
ต๔.๔ คุณภาพของการบริหารจัดการ ๔ ดีมาก
ภาพรวมมาตรฐาน ๔ ๓.๗๕ ดีมาก
มาตรฐานที่๕ การบริหารจัดการ
ตัวบ่งชี้ รายละเอียดตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ต๕.๑ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ/เขต มีการวางระบบและกลไกการประกันคุณภาพให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบบริหาร ๔ ดีมาก
ต๕.๒ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ/เขต มีกระบวนการประกันคุณภาพที่ครบวงจร ๔ ดีมาก
ต๕.๓ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ/เขต มีการจัดทำ
รายงานการประเมินตนเองและการใช้ผลการประเมินตนเองในการพัฒนา ๔ ดีมาก
ภาพรวมมาตรฐาน ๕ ๔.๐๐ ดีมาก
               
สถานศึกษาได้คะแนนเฉลี่ยผลการประเมิน= ๓.๖๑            ระดับคุณภาพ  ดีมาก
     รับรองมาตรฐานการศึกษา หรือ               ไม่รับรองมาตรฐานการศึกษา
                   ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
     ๑.  สถานศึกษาควรจัดกระบานการเรียนการสอน โดยเน้นการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดทำคลังข้อสอบ เพื่อรวบรวมข้อสอบที่มีมาตรฐานจากแหล่งต่างๆ นำมาพัฒนาผู้เรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดกิจกรรมแนะแนว สร้างแรงจูงใจด้านอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนสนใจ และเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มปริมาณในการสำเร็จการศึกษาตามเวลาที่กำหนดมากขึ้น
๒. ครูควรปรับเปลี่ยนวิธีการสอน นำเทคนิควิธีการสอนแบบใหม่ๆ มาเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ปัจจุบัน โดยให้มีการประเมินการใช้แผนการเรียนรู้ ประเมินการสอนของตนเอง การทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนทั้งด้านความรู้และด้านพฤติกรรมผู้เรียน การนำผลการวิจัยไปปรับปรุงแก้ไขกระบวนการเรียนรู้ จัดทำบันทึกผลการสอนให้เป็นรูปธรรม โดยบอกความสำเร็จเป็นจำนวนหรือร้อยละ มีการสอนซ่อมเสริมในสาระการเรียนรู้ที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำ โดยเฉพาะวิชาหลัก คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ใช้สื่อเทคโนโลยีการสอนให้หลากหลาย มีการพัฒนาสื่อ และใช้สื่อเทคโนโลยีพัฒนาการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง ระยะเวลาในการพัฒนาสถานศึกษาให้จัดการศึกษาได้มาตรฐานในภาพรวม ๒ ปี
ทิศทางการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาในอนาคต
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ ควรมีทิศทางในการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา โดยการวางแผนพัฒนาจุดเด่นในด้านการวางระบบและกลไกลการประกันคุณภาพให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบบริหาร มีกระบวนการประกันคุณภาพที่ครบวงจร มีการจัดทำรายงานการประเมินตนเองและการใช้ผลการประเมินตนเองในการพัฒนา คุณภาพของหลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ผู้เข้ารับบริการเพื่อการพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิตเป็นไปตามเป้าหมาย มีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต คุณภาพของแผนพัฒนาบุคลากร คุณภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ คุณภาพของการบริหารจัดการ มีการกำหนดปรัชญา วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ การดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติการประจำปี คุณภาพของครู ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน สุขภาวะและสุนทรียภาพของผู้เรียนผู้บริหารระดมทรัพยากรบุคคล เช่น ผู้นำชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายร่วมกันวางแผนในการพัฒนากระบวนการประกันคุณภาพที่ครบวงจร
 
บทที่ ๒
ทิศทางและผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
    สถานศึกษาได้กำหนดทิศทางการดำเนินงานไว้ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี โดยได้ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี และมีผลการดำเนินการดังนี้
     ๒.๑ ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา
ปรัชญา     “ขยายโอกาสการศึกษา   พัฒนาคุณภาพชีวิต  ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง”

วิสัยทัศน์    
             ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ   จัดบริการด้านการศึกษา 
นอกระบบและการศึกตามอัธยาศัยในรูปแบบที่หลากหลายให้กับประชาชน  เพื่อพัฒนาและสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้นำไปสู่ชุมชนเข้มแข็ง
อัตลักษณ์      “ แหล่งเรียนรู้ คู่ภูมิปัญญา พัฒนาสู่การศึกษาตลอดชีวิต”
                                                
พันธกิจ   ๑.จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ    
     ๒. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
    ๓. ส่งเสริมชุมชนให้พัฒนากระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
    ๔. พัฒนาและส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพต่อการศึกษาตลอดชีวิต
    ๕. พัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อให้สามารถดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เป้าประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จ
เป้าประสงค์                                                                     ตัวชี้วัดความสำเร็จ
 ๓. ผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจต่อการใช้บริการของหน่วยงาน และสถานศึกษา
 ๔. ภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคมที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจัดกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต
 ๕. ชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีการจัดการความรู้และการะบวนการเรียนรู้
 ๖. ชุมชนที่มีแหล่งการเรียนรู้ที่พร้อมในการจัดสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต
๗. หน่วยงานและสถานศึกษาที่มีการนำเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ในการบริหารองค์กร และจัดบริการการเรียนรู้แก่ประชาชน
 ๘. ผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจต่อการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของหน่วยงานและสถานศึกษา
 ๙. บุคลากรที่ได้รับการพัฒนาสมรรถนะในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
 ๑๐. หน่วยงานและสถานศึกษาที่มีการนิเทศที่มีคุณภาพ
 ๑๑. หน่วยงานและสถานศึกษาที่มีการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบต่อเนื่อง และสามารถนำไปพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กลยุทธ์
กลยุทธ์ ๑ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุกกลุ่มเป้าหมาย
กลยุทธ์ ๒ พัฒนาและส่งเสริมเทคโนโลยีและสารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อบริหารจัดการ
กลยุทธ์ ๓ พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้
กลยุทธ์ ๔ เร่งรัดพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กลยุทธ์ ๕ พัฒนาศักยภาพความก้าวหน้าของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาครูกศน.และภาคีเครือข่าย
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ เกณฑ์ความสำเร็จ(ร้อยละ)
๑. เพื่อเป็นการส่งเสริมการรู้หนังสือ สำหรับผู้ไม่รู้หนังสือในพื้นที่อำเภอรัตภูมิ โดยให้ผู้ที่ไม่รู้
หนังสือสามารถอ่านออกเขียนได้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
๒. เพื่อเป็นการสนองนโยบายสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 
กลยุทธ์๑    จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุกกลุ่มเป้าหมาย 
๑.โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ ๗๖ คน
 ผู้เข้าอบรม จำนวน๗๖คน ๑.ร้อยละ๙๐ ของผู้รับบริการมีความพึงพอใจในระดับดี
๒. ร้อยละ๘๐ของผู้รับบริการมีความรู้ทักษะสามารถอ่านออกเขียนได้และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
๑. เพื่อฝึกอบรมพัฒนาฝีมือแรงงานให้มีทักษะความชำนาญในการประกอบอาชีพ
๒. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่ม เป้าหมายตัดสินใจในการประกอบอาชีพของตนเองได้  
กลยุทธ์
๑จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุกกลุ่มเป้าหมาย 
๒.โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ  ๒๒๐ คน ร้อยละ๙๐ของผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้จากกิจกรรมทักษะชีวิตและสามรถนำความรู้ไปใช้ได้ ๑.ร้อยละ๙๐ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในการประกอบอาชีพตนเอง                      
๒.ร้อยละ๙๐ของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในระดับดี
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ 
เกณฑ์ความสำเร็จ(ร้อยละ)
มากยิ่งขึ้น
๓. เพื่อเพิ่มรายได้ของกลุ่มเป้าหมายให้สูงขึ้น     
๑. เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความเหมาะสมของพื้นที่ เช่นกิจกรรมค่าย กลุ่มสนใจฝึกอบรม สัมมนา
๒. เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้และทักษะชีวิตในการวิเคราะห์และแก้ปัญหาได้ 
กลยุทธ์ ๑     จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุกกลุ่มเป้าหมาย 
๓.โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ๓๙๕ คนร้อยละ๙๐ของผู้เข้ารับอบรมได้รับความรู้จากกิจกรรมทักษะชีวิตและสามรถนำความรู้ไปใช้ได้ ร้อยละ๙๐ของผู้เข้ารับการอบรมที่สามารถผ่านเกณฑ์การประเมินนำความรู้จากกิจกรรมทักษะชีวิตไปใช้และเกิดประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน
๑.เพื่อพัฒนาปัญญาท้องถิ่นให้เกิดขึ้นทั้งด้านสื่อและเทคโนโลยีเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ตลอด 
กลยุทธ์ ๑   จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลาย 
๔. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน  ๔๑๗คน ร้อยละ ๘๐    ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการผ่านการอบรมตามกระบวน ร้อยละ๘๐มีทักษะและเจตคติที่ดีต่อวิถีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ เกณฑ์ความสำเร็จ(ร้อยละ)
ชีวิตรวมถึงการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมสู่สังคมแห่งการเรียนรู้
๒. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ความเข้าใจมีทักษะและเจตคติที่ดีต่อวิถีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและหน้าที่การเป็นพลเมืองที่ดี
๓. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนัก
ในการอนุรักษ์พัฒนา ครอบคลุมทุกพื้นที่ทุก             กลุ่มเป้าหมาย   กระบวนการ พระมหากษัตริย์เป็นประมุขและหน้าที่การเป็นพลเมืองที่ดี มีความตระหนักในการอนุรักษ์พัฒนาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในพัฒนาการจัดทำแผนชุมชนนำไปสู่การปฎิบัติจริง สร้างความเข้มแข็งของชุมชน ด้านเศรษฐกิจสังคมประเพณีและวัฒนธรรม
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ 
เกณฑ์ความสำเร็จ(ร้อยละ)
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนสังคม
๔. เพื่อให้ครู กศน.และชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการจัดทำแผนชุมชนนำไปสู่การปฏิบัติจริงสร้างความเข้มแข็งของชุมชนด้านเศรษฐกิจสังคมประเพณีและวัฒนธรรม     
๑.เพื่อขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้กับประชาชน               ๒.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ชุมชนร่วมกันบริหารจัดการ
 กลยุทธ์ ๑   จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุกกลุ่มเป้าหมาย 
๕. โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๕๐๐ คน ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีการดำเนินกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีการดำเนินกิจกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ 
เกณฑ์ความสำเร็จ(ร้อยละ)
และพัฒนาศักยภาพของตนเองที่มีอยู่ให้มีศักยภาพเพิ่มมากขึ้น                  
๓.เพื่อสร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิถีชีวิตพอเพียง     
๑.เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้สูงอายุ
๒.เพื่อส่งเสริมทักษะให้ผู้สูงอายุใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 
กลยุทธ์ ๑   จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุกกลุ่มเป้าหมาย 
๖.โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุ ๑๐๐ คน ร้อยละ๘๐ของผู้เข้าร่วม         โครงการมีความพึงพอใจในกิจกรรม ร้อยละ๘๐ของผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ทักษะ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองสามารถนำความรู้ทักษะไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ 
เกณฑ์ความสำเร็จ(ร้อยละ)
๑.เพื่อพัฒนาคนพิการให้สามารถพึ่งตนเองมีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถประกอบอาชีพดำรงชีวิตอย่างเป็นอิสระและสร้างประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชนสังคมและประเทศชาติ           ๒.เพื่อให้คนพิการมีกำลังใจในการดำรงชีวิตในสังคม                 ๓.เพื่อให้คนพิการทุกคนสามารถเข้าเรียนได้โดยสอดคล้องกับศักยภาพ และความสามารถของคนพิการแต่ละคน 
กลยุทธ์ ๑   จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุกกลุ่มเป้าหมาย 
๗.โครงการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ ๗๐ คน ๑.ร้อยละ๘๐ของผู้เข้าร่วมประชุมสัมมนาได้มีโอกาสได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกัน เกิดการสร้างเครือข่ายในพัฒนาคุณภาพ ๑.ผู้เข้าร่วมประชุมสัมมนาได้มีโอกาสได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกันเกิดการสร้างเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคน
๒.ผู้เข้าร่วมประชุมสัมมนาทราบแนวทางการส่งเสริมพัฒนาคนพิการ
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ 
เกณฑ์ความสำเร็จ(ร้อยละ)
๑.เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีทักษะในการออกข้อสอบ
๒.เพื่อพัฒนาคลังข้อสอบให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 
กลยุทธ์ ๑   จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุกกลุ่มเป้าหมาย 
๘.โครงการจัดทำและพัฒนาคลังข้อสอบ ๑๘ คน ๑.ครูร้อยละ๙๐สามารถจัดทำและพัฒนาคลังข้อสอบได้
๒.ครูร้อยละ๙๐ของผู้ที่เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาข้อสอบให้มีคุณภาพ 
      ครูร้อยละ๙๐ของผู้ที่เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาข้อสอบให้มีคุณภาพ
๑.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและจิตสำนึกที่ดีให้แก่ผู้นำเผยแพร่ประชาธิปไตยระดับหมู่บ้านชุมชนในการเรียนรู้ประชาธิปไตยตามแผนปรองดองแห่งชาติ
๒.เพื่อเสริมทักษะการเผยแพร่ประชาธิปไตยให้แก่ผู้นำ เผยแพร่ประชาธิปไตย  
กลยุทธ์ ๑   จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุกกลุ่มเป้าหมาย 
๙.โครงการทดลองใช้หลักสูตรจิตสำนึกประชาธิปไตยสู่ความเป็นพลเมืองดี ๓๑ คน ร้อยละ๘๐ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ๘๐ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการเผยแพร่ประชาธิปไตยในหมู่บ้าน/ชุมชน
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จเกณฑ์ความสำเร็จ(ร้อยละ)
ระดับหมู่บ้าน/ชุมชน
๓.เพื่อสร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายผลการสร้างความเป็นพลเมืองดี
๔.เพื่อให้บุคลากร กศน.มีทักษะในการเป็นวิทยากรกระบวนการที่ประสิทธิภาพ 
กลยุทธ์ ๑    จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุกกลุ่มเป้าหมาย 
๑๐.โครงการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
-ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
-ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๗๐๐ คน ๑..ร้อยละ๘๐ของผู้เรียนทุกระดับสอบผ่านรายวิชา
๒.ร้อยละ๘๐ของผู้เรียนมีทักษะในการคิด อ่าน เขียน วิเคราะห์
๓.ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ในระดับดี 
๑.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
๒.เพื่อให้นักศึกษามีแนวทางในการตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับตัวเอง
๓.เพื่อให้ครูผู้สอนมีสื่อ          กลยุทธ์ ๑   จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุก            กลุ่มเป้าหมาย ๑๑.โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๐๐ คน ๑.นักศึกษา กศน.อำเภอรัตภูมิร้อยละ๘๐มีความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์และวิชาภาษาต่างประเทศเพียงพอที่จะเรียนต่อได้มีคุณลักษณะที่ดี๓ด้าน คือด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด พร้อมทั้งสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ ประกอบอาชีพที่เหมาะสมและครูมีสื่อ วัสดุและอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น ๑.นักศึกษาร้อยละ๘๐ของผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น
๒.นักศึกษาร้อยละ๘๐เข้าใจและปฏิบัติคุณลักษณะที่ดีทั้ง๓ด้าน
๓.นักศึกษาร้อยละ๘๐สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างมี
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ เกณฑ์ความสำเร็จ(ร้อยละ)
อุปกรณ์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ     ประสิทธิภาพ๔.นักศึกษาร้อยละ๘๐ประกอบอาชีพอย่างมีความสุข
๑.เพื่อส่งเสริมการอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย
๒.เพื่อพัฒนา กศน.ตำบลให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน กลยุทธ์ ๑   จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุก            กลุ่มเป้าหมาย ๑๒.โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยใน     กศน.ตำบล ๑,๗๘๕ คน ร้อยละ๘๐ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในกิจกรรม ๑.ร้อยละ๘๐ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่าและประโยชน์จากการอ่าน
๒.ร้อยละ๘๐ของผู้เข้าร่วมโครงการได้ใช้ กศน.ตำบลเป็นแหล่งเรียนรู้
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ เกณฑ์ความสำเร็จ(ร้อยละ)
๑.เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการวางแผนกำหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพให้ได้มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาปีงบประมาณ ๒๕๕๔
๒.เพื่อให้บุคลากรมองเห็นแนวทางการพัฒนาผลผลิตให้เป็นที่ยอมรับของสังคมและเป็นที่พึงพอใจของผู้ให้และผู้รับบริการ
 กลยุทธ์ ๔ เร่งรัดพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 
๑๓โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๑๙ คน 
๑.ผู้บริหาร  จำนวน ๑ คน
๒.บุคลากรจำนวน ๑๘ คน
 ๑.ร้อยละ๘๐ของบุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักการจัดการศึกษานอกโรงเรียน
๒.มีการบริหารเชิงกลยุทธ์
๓.มีการบริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาล
๔.ร้อยละ๘๐ของบุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จเกณฑ์ความสำเร็จ
(ร้อยละ)
๑. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมครูให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๒.เพื่อให้ครูสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
 กลยุทธ์ที่๕พัฒนาศักยภาพความ
ก้าวหน้าของข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาครูกศน. และภาคเครือข่าย 
๑๔.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑๙ คน ๑.ผู้บริหาร   
  จำนวน ๑ คน
๒.บุคลากรจำนวน
   ๑๘ คน
 ๑.ร้อยละ๘๐ของบุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับการจัดกระบวน
การสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
๑. เพื่อให้บุคลากรได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการจัดการความรู้
๒. เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสถานศึกษาของตนเองให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่๕
พัฒนาศักยภาพความก้าวหน้าของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาครูกศน. และภาคีเครือข่าย ๑๕.โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
กศน. ๑๘ คน ๑.ผู้บริหาร 
  จำนวน ๑ คน
๒.บุคลากรจำนวน  
  ๑๘ คน
     ๑.ร้อยละ๘๐ของบุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้
๒.บุคลากรสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาการปฏิบัติ งานให้มีประสิทธิภาพ
 
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ เกณฑ์ความสำเร็จ            (ร้อยละ)
๑. เพื่อติดตามนโยบายแผนปฏิบัติงานและกรอบภารกิจกศน.
๒. เพื่อรับฟังปัญหาอุปสรรคข้อเสนอแนะและให้คำปรึกษา
๓.เพื่อพัฒนางานและปรับปรุงแก้ไข กลยุทธ์ ๔ เร่งรัดพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
 ๑๖.โครงการ นิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๑๘ คน ด้านปริมาณ ร้อยละ๘๐ของบุคลากรดำเนินการจัด    กิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตพื้นที่รับผิดชอบของกศน.อำเภอรัตภูมิเป็นไปตามแผนปฏิบัติการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
๑.เพื่อให้ครูสามารถทำการวิจัยในชั้นเรียนได้
๒.เพื่อให้ครูสามารถนำการวิจัยในชั้นเรียนไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน กลยุทธ์ที่๕
พัฒนาศักยภาพความก้าวหน้าของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาข้าราชการพลเรือน และภาคเครือข่าย ๑๗.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอน ๑๘ คน ๑.ครูสามารถทำการวิจัยในชั้นเรียนได้
๒.ครูสามารถนำการวิจัยในชั้นเรียนไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ๑. ครูนำการวิจัยไปพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา
๒. นักศึกษาเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
๑.เพื่อนำเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงและผลการดำเนิน กิจกรรมในระดับตำบล
๒.เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนร่วมกันบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพของตนเองที่มีอยู่เพิ่มมากขึ้น กลยุทธ์๑    จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุก             กลุ่มเป้าหมาย ๑๘.โครงการมหกรรมวิถีชุมชนคนพอเพียง ๑๗๐ คน ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ในการจัดกิจกรรมในระดับดี ร้อยละ๙๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการมีการดำเนินกิจกรรมตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายปีงบประมาณ...คน ตัวชี้วัดความสำเร็จ 
เกณฑ์ความสำเร็จ        (ร้อยละ)
๓.เพื่อประชาสัมพันธ์และสร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตพอพียง     
๑.เพื่อส่งเสริมให้วิทยากรอาชีพได้รับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในอาชีพที่ตนเองมีความถนัดมากยิ่งขึ้น
๒.เพื่อส่งเสริมให้วิทยากรอาชีพได้เรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากการศึกษาดูงาน กลยุทธ์ ๑   จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้หลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ทุก            กลุ่มเป้าหมาย ๑๙.โครงการศึกษาดูงานวิทยากรอาชีพ ๒๐ คน ๑.วิทยากรอาชีพ จำนวน ๑๕ คน
๒.บุคลากร จำนวน ๕ คน ๑.ร้อยละ๙๐ของวิทยากรอาชีพมีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในอาชีพของตนเองมากขึ้น
๒.ร้อยละ๙๐ของวิทยากรมีความพึงพอใจในระดับดี
๓.ร้อยละ๘๐ของบุคลากรที่เข้าร่วม
โครงการได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
แผนปฏิบัติการประจำปี
โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ
๑.โครงการวิถีชุมชนคนพอเพียง ๑.เพื่อนำเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงและผลการดำเนิน กิจกรรมในระดับตำบล
๒.เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนร่วมกันบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพของตนเองที่มีอยู่ให้มีศักยภาพ
เพิ่มมากขึ้น
๓.เพื่อประชา
สัมพันธ์และสร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตพอพียง
 ประชาชน ๑๗๐ คน อำเภอ            รัตภูมิ ๓ ส.ค.๕๔ ๔๕,๒๐๐
โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ
๒.โครงการพัฒนาคลังหลักสูตรอาชีพและทักษะชีวิต ๑.เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีทักษะในการออกข้อสอบ
๒.เพื่อพัฒนาคลังข้อสอบให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ครูและบุคลากรทางการศึกษา ๒๐ คน กศน.อำเภอรัตภูมิ ม.ค.-มิ.ย๕๔ ๕,๐๐๐
๓.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมครูให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๒.เพื่อให้ครูสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑๘ คน กศน.อำเภอรัตภูมิ ม.ค.-มี.ค.๕๔ ๑๓,๐๒๐
โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา   งบประมาณ
๔.โครงการจัดทำและพัฒนาการคลังข้อสอบ ๑.เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีทักษะในการออกข้อสอบ
๒.เพื่อพัฒนาคลังข้อสอบให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑๘ คน กศน.อำเภอรัตภูมิ ม.ค.-มี.ค.๕๔ ๑๕,๐๐๐
๕.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอน ๑.เพื่อให้ครูสามารถทำการวิจัยในชั้นเรียนได้
๒.เพื่อให้ครูสามารถนำการวิจัยในชั้นเรียนไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑๘ คน กศน.อำเภอรัตภูมิ ม.ค.-มี.ค.๕๔ ๘,๐๐๐
๖.โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๑.เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการวางแผนกำหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑๘ คน กศน.อำเภอรัตภูมิ ต.ค.-ธ.ค.๕๓ ๑๑,๒๘๐
โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ
 ให้ได้มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาปีงบประมาณ ๒๕๕๔
๒.เพื่อให้บุคลากรมองเห็นแนวทางการพัฒนาผลผลิตให้เป็นที่ยอมรับของสังคมและเป็นที่พึงพอใจของผู้ให้และผู้รับบริการ
     
๗.โครงการพัฒนาองค์ความรู้บุคลากรเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิ ภาพการ       ปฏิบัติงาน ๑. เพื่อให้บุคลากรได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการจัดการความรู้
๒. เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสถานศึกษาของตนเองให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้  ครูและบุคลากรทางการศึกษา ๗๒ คน กศน.อำเภอรัตภูมิ ต.ค.๕๓  -ก.ย.๕๔ ๓๗,๖๒๐

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ
๘.โครงการนิเทศการศึกษา ๑. เพื่อติดตามเป้าหมายแผนปฏิบัติงานและกรอบภารกิจ กศน.
๒. เพื่อรับฟังปัญหาอุปสรรคข้อเสนอแนะและให้คำปรึกษา
๓.เพื่อพัฒนางานและปรับปรุงแก้ไข
 ครูและบุคลากรทางการศึกษา
 ๗๒ คน กศน.อำเภอรัตภูมิ
 ต.ค.๕๓  -ก.ย.๕๔ ๕,๐๐๐
๙.โครงการทดลองใช้หลักสูตรจิตสำนึกประชาธิป ไตยสู่ความเป็นพลเมืองดี ๑.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและจิตสำนึกที่ดีให้แก่ผู้นำเผยแพร่ประชา
ธิปไตยระดับหมู่บ้านชุมชนในการเรียนรู้ ครูและบุคลากรทางการศึกษา
 ๓๑ คน ห้องประชุมเทศบาลตำบลกำแพงเพชร ต.ค-ธ.ค.๕๓ ๔,๑๘๐
โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา          งบประมาณ
 ประชาธิปไตยตามแผนปรองดองแห่งชาติ         ๒.เพื่อเสริมทักษะการเผยแพร่ประชาธิปไตยให้แก่ผู้นำ เผยแพร่ประชาธิปไตยระดับหมู่บ้าน/ชุมชน
๓.เพื่อสร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายผลการสร้างความเป็นพลเมืองดี
๔.เพื่อให้บุคลากร กศน.มีทักษะในการเป็นวิทยากรกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ     
โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา          งบประมาณ
๑๐.โครงการศึกษาดูงานเพื่อเพิ่ม ประสิทธิ ภาพของวิทยากรอาชีพ ๑.เพื่อส่งเสริมให้วิทยากรอาชีพได้รับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในอาชีพที่ตนเองมีความถนัดมากยิ่งขึ้น
 ครูและบุคลากรทางการศึกษา
 ๑๕ คน จังหวัดสงขลา ม.ค.-มี.ค๕๔ ๑๓,๑๒๐
                     เป้าหมายความสำเร็จรายมาตรฐาน
มาตรฐาน รายละเอียดมาตรฐาน เป้าหมายความสำเร็จ
  ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
ม๑ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนพัฒนาการศึกษา ๔.๐๓ ดี
ม๒ การจัดการนอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓.๕๗ ดี
ม๓ การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษาต่อเนื่อง ๓.๕๑ ดี
ม๔ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๔.๓๓ ดี
ม๕ การบริหารจัดการ
 ๓.๗๗ ดี
ม๖ การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ๔.๕๐ ดี
ภาพรวมสถานศึกษา ๔.๐๐ ดี

๒.๒ ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
ผลการดำเนินงานของสถานศึกษาในรอบ ๒ ปี ที่ผ่านมาและปีที่ประเมินตนเอง ดังนี้
โครงการ /กิจกรรม งบประมาณปี๒๕๕๓ งบประมาณปี๒๕๕๔ งบประมาณปี๒๕๕๕
 เป้าหมาย ผลผลิต เป้าหมาย ผลผลิต เป้าหมาย ผลผลิต
กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะอาชีพ ๑๘๐ ๑๘๐ ๑๔๐ ๑๔๒ ๒๒๐ ๒๒๐
กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนา       ทักษะชีวิต ๙๓๕ ๙๖๐ ๑๗๙ ๑๘๙ ๓๙๕ ๓๘๘
กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ๒๘๕ ๒๙๐ ๓๕๐ ๔๓๖ ๔๑๗ ๔๖๘
กิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑,๘๙๔ ๒,๓๒๖ ๓,๑๑๐ ๒,๘๒๖ ๒,๒๒๗ ๒,๐๔๘
กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ๕๐,๐๐๐ ๕๙,๒๐๐ ๕๐,๐๐๐ ๕๑,๓๗๐  
กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ๕๐๙ ๕๑๗ ๔๕๐ ๕๘๕ ๕๐๐ ๕๐๐
กิจกรรมโครงการพิเศษ ๒๐๓ ๒๐๓ ๒๕๖ ๓๕๖ ๔๗๐ ๔๗๐
กิจกรรมงานโครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาตามอัธยาศัย(ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง) ๑๖,๖๐๐ ๑๙,๗๕๕ - - - -
โครงการพัฒนาบุคลากร ๑๘ ๑๘ ๑๙ ๑๙ - -

สรุปผลการปรับปรุงและพัฒนาในรอบปีที่ผ่านมา
จากผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย การประเมินตนเอง การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด และผลการประเมินคุณภาพภายนอก สถานศึกษาได้นำข้อเสนอแนะมากำหนดแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการศึกษา ดังนี้
ข้อเสนอจากการประเมิน โครงการ/กิจกรรมที่ปรับปรุงและพัฒนา ผลการดำเนินงาน
ตนเอง ต้นสังกัด สมศ.  
๑.ผู้เรียนการศึกษาพื้นฐานที่จบหลักสูตรตามเกณฑ์ที่กำหนด อยู่ในระดับปรับปรุง  ปัจจัยที่ส่งผลเนื่องมาจากผู้เรียน  กศน.ส่วนใหญ่อยู่ในวัยผู้ใหญ่ และวัยแรงงาน มีภาระหน้าที่ในการประกอบอาชีพทำให้ผู้เรียนมีปัญหาด้านการเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่าร้อยละ ๗๐
สถานศึกษามีการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อมุ่งเน้นพัฒนาด้านวิชาการเช่นการจัดกิจกรรมสอนเสริมและมีการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีพัฒนาการเรียนการสอนต่อเนื่อง ๑.การพัฒนาระบบการบริหารงาน โครงการ ตามวงจรคุณภาพ PDCA ควรปรับปรุง ระบบการวางแผนให้บุคคลที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการกำหนดแผนพัฒนาคุณภาพและแผนปฏิบัติการ  จัดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายในและมีการรายงานผลการติดตามผลการดำเนินงานเป็นเอกสาร และมีข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงและสามารถปฏิบัติได้ และให้ความสำคัญกับการนำผลการติดตามประเมินผลแผนพัฒนาคุณภาพ และประเมินผลโครงการเพื่อมาพัฒนาปรับปรุงงาน
 ๑.สถานศึกษาควรจัดการเรียนการสอน  โดยเน้นการจัดทำแผนการเรียนรู้  กิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  จัดทำคลังข้อสอบ  เพื่อรวบรวมข้อสอบที่มีมาตรฐานจากแหล่งต่าง ๆ นำมาพัฒนาผู้เรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดกิจกรรมแนะแนว  สร้างแรงจูงใจด้านอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนสนใจ และเข้าร่วมกิจกรรม  เพื่อเพิ่มปริมาณในการสำเร็จการศึกษาตามเวลาที่กำหนดมากขึ้น
 -กิจกรรมการเรียนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
-การจัดทำคลังข้อสอบ
-การทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
-การสอนซ่อมเสริม  กิจกรรมปรับพื้นฐาน
-กิจกรรมประชาสัมพันธ์งาน  กศน. (จัดรายการวิทยุ คลื่นวิทยา  ๑๐๑ MH.z)
- เว็บไซต์ กศน. อำเภอรัตภูมิ
- กิจกรรมประชุมเครือข่าย  - บุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน โดยเน้นการจัดการรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
-ครูมีการนำเทคนิควิธีการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
 - บุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคลังข้อสอบ
-บุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับการจัดทำวิจัยในชั้นเรียน 
ข้อเสนอจาการประเมิน โครงการ/กิจกรรมที่ปรับปรุงและพัฒนา ผลการดำเนินงาน
ตนเอง ต้นสังกัด สมศ.  
 ๒. ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ตรงกับความรู้ความสามารถที่จะนำมาพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
สถานศึกษาควรจัดให้มีการจัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลเพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทำโครงการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ทักษะในการปฏิบัติงานและจัดกิจกรรม ๒.การพัฒนาศักยภาพบุคลากร  ควรจัดให้มีการจัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลเพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทำโครงการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานในหน้าที่  เช่นความรู้เข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ การออกแบบและจัดทำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล วิธีการออกข้อสอบแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย การจัดทำวิจัยชั้นเรียน และการนำผลการวิจัยมาปรับปรุงการเรียนการสอน  รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบแผน กับผลการพัฒนารายบุคคล เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดโครงการพัฒนาบุคลากรปีต่อไป ๒.ครูควรปรับเปลี่ยนวิธีการสอน  นำเทคนิค วิธีการสอนแบบใหม่ ๆ มาเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ปัจจุบัน โดยให้มีการประเมินการใช้แผนการเรียนรู้  ประเมินการสอนของตนเอง การทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาการาเรียนการสอน ทั้งด้านความรู้และพฤติกรรมของผู้เรียน การนำผลการวิจัยไปปรับปรุงแก้ไขกระบวนการเรียนรู้ จัดทำบันทึกผลการสอนให้เป็นรูปธรรม   โดยบอกความสำเร็จเป็นจำนวนหรือร้อยละ  มีการซ่อมเสริมในสาระการเรียนรู้  ที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำ  โดยเฉพาะวิชาหลัก คือ  ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  ภาษาอังกฤษ ใช้สื่อและเทคโนโลยีการสอนให้หลากหลาย  มีการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีพัฒนาการเรียนการสอนต่อเนื่อง  
ข้อเสนอจากการประเมิน โครงการ/กิจกรรมที่ปรับปรุงและพัฒนา ผลการดำเนินงาน
ตนเอง ต้นสังกัด สมศ.  
๓. ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้  โดยให้ผู้เรียน ผู้รับบริการ สามารถค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้และสื่อ ต่างๆ ทื่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง
สถานศึกษากระตุ้นให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้ด้วยตนเองจากสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่นห้องสมุด และแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น สื่อเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๓. การส่งเสริมการจัดการศึกษาของ กศน. ตำบล และ ศรช. ประจำหมู่บ้าน/ชุมชนให้เป็นไป  ตามเกณฑ์มาตรฐานที่สำนักงาน กศน. กำหนด  โดยสนับสนุนให้ครู กศน. ใช้มาตรฐาน กศน. ตำบลเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงาน  ควรจัดให้มีการประเมิน กศน. ตำบลโดยกรรมการประเมินภายในของสถานศึกษา และมีการรายงานผลเป็นเอกสาร และส่งเสริมให้มีการปรับปรุงพัฒนากศน. ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน   
๔.การประชาสัมพันธ์กิจกรรมยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่
ทางกศน.อ.รัตภูมิ
ประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ   ผ่านทางwebsite ของ กศน.อำเภอรัตภูมิ และประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อวิทยุ
เพื่อประชาสัมพันธ์ ๔. การพัฒนานักศึกษา กศน..ให้มีความรู้ ทักษะ เจคติ  ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร  ทั้งหลักสูตรการศึกษาพื้นฐานและการศึกษาต่อเนื่อง  โดยการส่งเสริมการช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหาในการเรียน หรือการมาพบกลุ่ม การจัดสอนเสริมนอกรอบปกติ การจัดหาวิทยากรที่ชำนาญในสาขาเนื้อหามาเป็นวิทยากรสอนเสริม  และมีการประชุมครู นักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดมาตรการและสร้างแรงจูงใจให้มีจำนวนนักศึกษา ที่ 
ข้อเสนอจากการประเมิน โครงการ/กิจกรรมที่ปรับปรุงและพัฒนา ผลการดำเนินงาน
ตนเอง ต้นสังกัด สมศ.  
กิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนให้เครือข่ายทราบ อย่างต่อเนื่อง สามารถจบหลักสูตรในปริมาณที่สูงขึ้น
   
 ๕. ในการประชุมบุคลากร หรือการประชุมร่วมกับเครือข่ายของ สถานศึกษา และ กศน.ตำบล ต้องดำเนินการบันทึกการประชุมอย่างละเอียดชัดเจน มีการจัดทำรายงานการประชุม มีการสืบเนื่องเรื่องการประชุมที่ยังไม่แล้วเสร็จ และจัดทำเป็นเอกสารรายงานการประชุมและจัดเก็บอย่างเป็นระบบเพื่อสะดวกในการค้นหา
   
บทที่ ๓
ผลการประเมินตนเอง
  สถานศึกษาประเมินตนเองตามมาตรฐาน และตัวบ่งชี้ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  จำนวน  ๖           
มาตรฐาน ๒๖ ตัวบ่งชี้  ได้ผลการประเมินดังนี้
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
          สถานศึกษากำหนดเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๑ ไว้ที่ค่าเฉลี่ย ๒๗.๖๑  ระดับคุณภาพระดับ ดี  ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๑ ดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวบ่งชี้ น้ำหนัก
(คะแนน) ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ บรรลุเป้าหมาย
ตัวบ่งชี้ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๓ ๒.๓๕ ดี /
ตัวบ่งชี้ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๓ ๒.๔๑ ดี /
ตัวบ่งชี้ ๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๓ ๒.๕๐ ดี /
ตัวบ่งชี้ ๔ ผู้เรียน คิดเป็น/ทำเป็น ๓ ๒.๓๑ ดี /
ตัวบ่งชี้ ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๐ ๖.๓๔ พอใช้ ไม่บรรลุ
การศึกษาต่อเนื่อง
ตัวบ่งชี้ ๖ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ๕ ๔.๕๐ ดีมาก /
ตัวบ่งชี้ ๗ ผู้เรียนมีงานทำหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทำงาน
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๕
 ๔.๕๐ ดีมาก /
การศึกษาตามอัธยาศัย 
ตัวบ่งชี้ ๘ ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ๓ ๒.๗๐ ดีมาก /
ภาพรวมมาตรฐานที่ ๑ ๓๕ ๒๗.๖๑ ดี บรรลุ
เป้าหมาย

ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้
ข้อมูลความตระหนัก
  ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ ได้จัดทำหลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนโดยเกิดจากที่ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาทำให้มีหลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนส่งเสริมกระบวนการคิด การทำงานร่วมกัน ส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ในรู้แบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เช่น การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง การทำโครงงาน การเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับตนเองและสังคมได้ เน้นให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการมีคุณลักษณะพึงประสงค์เรื่องการมีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาพจิตที่ดี โดยกำหนดรูปแบบของโครงการที่สอดคล้องกับนโยบายและแผนปฏิบัติงานของสถานศึกษา
ข้อมูลความพยายาม
          ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิได้จัดกิจกรรมและส่งเสริมกระตุ้นผู้เรียนให้มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ โดยครูเป็นผู้มอบหมายงานเช่น ใบงาน แบบฝึกหัด และรายงาน และได้มอบหมายให้ผู้เรียนเลือกและตัดสินใจในการจัดทำโครงงานให้สอดคล้องกับสาระวิชา รู้จักคิดวิเคราะห์และทำงานเป็นกลุ่มมีการจัดกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม
หลักฐานการประกอบการดำเนินงาน
 ๑. แบบบันทึกสุขภาพ
 ๒. แบบสำรวจสุขภาพจิต
 ๓. แบบประเมินคุณธรรมจริยธรรม
 ๔. แผนการเรียนรู้
 ๕. โครงงานนักศึกษา
 ๖. รายงานผลการตรวจกระดาษคำตอบ
 ๗. รายงานโครงการ/กิจกรรม
สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๑
 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๑ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๑ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการพัฒนา  ดังนี้
จุดเด่น
๑. นักศึกษามีคุณธรรมจริยธรรม
๒. ภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
๓. สถานศึกษามีการนิเทศติดตามการดำเนินงาน
๔. บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการทำงานเป็นทีม
จุดควรพัฒนา
จัดกิจกรรมที่เน้นให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาสูงขึ้น โดยการจัดกิจกรรมค่ายวิชาการ
และสอนเสริมให้กับนักศึกษา
๑. ครูควรจัดทำแผนรายบุคคล
๒. จัดทำแผนการสอนแบบบูรณาการ
ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
๑. การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้มีคะแนนสูงกว่าขีดจำกัด
ล่างของผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาในระดับประเทศ
๒. สอดแทรกกิจกรรมการเรียนรู้ในแผนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น และจัดทำแผนการ
เรียนรู้รายบุคคลเพื่อให้ผู้เรียนมีการศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ
สถานศึกษากำหนดเป้าหมายความสำเร็จของบมาตรฐานที่  ๒  ไว้ที่ค่าเฉลี่ย ๒๐.๘๐ ระดับคุณภาพ ดี ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๒ ดังนี้
ตัวบ่งชี้ น้ำหนัก
(คะแนน) ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ บรรลุเป้าหมาย
ตัวบ่งชี้ ๑ คุณภาพของหลักสูตร ๔ ๓.๓๐ ดี /
ตัวบ่งชี้ ๒ คุณภาพของครูและผู้สอนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔ ๓.๑๐ ดี /
ตัวบ่งชี้ ๓ คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูและผู้สอนที่เน้นผู้เรียน/ผู้รับบริการเป็นสำคัญ ๔
 ๓.๒๐ ดี /
ตัวบ่งชี้ ๔ คุณภาพผู้สอน/วิทยากรสอนการศึกษาต่อเนื่อง ๓ ๒.๕๐ ดี /
ตัวบ่งชี้ ๕ คุณภาพสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๓ ๒.๘๐ ดีมาก /
ตัวบ่งชี้ ๖ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๔ ๓.๖๐ ดีมาก /
ตัวบ่งชี้ ๗ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๓ ๒.๓๐ ดี /
ภาพรวมมาตรฐานที่  ๒ ๒๕ ๒๐.๘๐ ดี บรรลุ
เป้าหมาย
      ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้
ข้อมูลความตระหนัก
  ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ ตระหนักถึงความสำคัญของการจัดการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่คำนึงถึงความแตกต่างของ บุคคล ด้านอายุ เพศ ด้านพื้นฐานทางวิชาการ ประสบการณ์ สังคมและสิ่งแวดล้อมและศักยภาพในการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องใช้สื่อ แหล่งการเรียนรู้ และวิธีการเรียนที่หลากหลาย เพื่อสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ตามความสนใจ ความต้องการ ความพร้อมและโอกาสของแต่ละบุคคล
ข้อมูลความพยายาม
-พัฒนาครู สถานศึกษามุ่งเน้นให้ครูและบุคลากรมีความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนส่งเสริมให้บุคลากรเข้ารับการอบรมการทำวิจัย และการประเมินโครงการ
 - การพัฒนาสื่อและแหล่งการเรียนรู้ตลอดตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
 - การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่การจัดกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต จัดค่ายวิชาการและการสอนเสริมวิชาภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา  เป็นต้น การจัดกิจกรรมดังกล่าว มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดความเรียนรู้ความแตกต่างของแต่ละบุคคลและเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับตนเองและสังคมได้ 
หลักฐานการประกอบการดำเนินงาน
 ๑. แบบรายงานโครงการ
 ๒. รายงานผลการประเมินการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
๓. แผนปฏิบัติการประจำปี
สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๒
 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๒ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๒ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการพัฒนา  ดังนี้
จุดเด่น
๑.. บุคลากรมีความรู้ความสามารถ
๒.. สถานศึกษามีการนิเทศ ติดตามการดำเนินงาน
๓. มีแบบบันทึกการปฏิบัติงาน
๔. ภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
๕. มีการจัดทำข้อมูลพื้นฐานหรือทำเนียบสื่อแหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา
 
จุดควรพัฒนา
 ๑. ครูควรจัดทำแผนการสอนรายบุคคล
 ๒. จัดทำสื่อในการบูรณาการการเรียนการสอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาสาระ
 
ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
 ๑. พัฒนานักศึกษา กศน.เพื่อให้มีความรู้ทักษะเจคติ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร โดยการส่งเสริมการช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหาในการเรียนหรือการมาพบกลุ่มโดยการสอนเสริม
 ๒. ในการพัฒนาบุคลากรควรส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาดำเนินการทำวิจัยอย่างง่ายหรือมีการบันทึกผลการจัดการเรียนรู้ทุกครั้งที่พบกลุ่ม
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา
 สถานศึกษากำหนดเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่  ๓ ไว้ที่ค่าเฉลี่ย      ๘.๙๐ ระดับคุณภาพ ดี  ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๓ ดังนี้
ตัวบ่งชี้ น้ำหนัก
(คะแนน) ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ บรรลุเป้าหมาย
ตัวบ่งชี้ที่  ๑  คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา ๒ ๑.๗๐ ดี /
ตัวบ่งชี้ที่ ๒ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ๒ ๑.๘๐ ดีมาก /
ตัวบ่งชี้ที่ ๓  ผลการบริหารความเสี่ยง ๒ ๑.๗๐ ดี /
ตัวบ่งชี้ที่ ๔  ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ๒ ๑.๘๐ ดีมาก /
ตัวบ่งชี้ที่ ๕ ผลการปฏิบัติตามบทบาทของ
คณะกรรมการสถานศึกษา ๒
 ๑.๙๐ ดีมาก /
ภาพรวมมาตรฐานที่  ๓ ๑๐ ๘.๙๐ ดี บรรลุ
เป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้
ข้อมูลความตระหนัก
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ จัดระบบการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล โดยได้ดำเนินการตามโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการโดยจัดโครงสร้างการทำงานออกเป็น  ๔ ฝ่ายคือ ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายบริหารบุคคล ฝ่ายบริหารงบประมาณ และฝ่ายบริหารวิชาการ  ซึ่งผู้บริหารได้นำมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมาเป็นเป้าหมายในการบริหารจัดการเพื่อจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี โดยมีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและนำผลการติดตามประเมินผลไปใช้ในการตัดสินใจและปรับปรุงพัฒนางาน
 

ข้อมูลความพยายาม
 การจัดระบบการบริหารจัดการตามโครงสร้างการบริหารของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ โดยการวางตัวบุคลากรซึ่งมีจำนวนไม่เพียงพอ ร่วมกันทำงานตามความเหมาะสมกบความรู้ความสามารถและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  มีการสำรวจความพึงพอใจในการบริหารจัดการศึกษาและประชุมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน มีการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการด้านอาคารสถานที่ และบุคลากร นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาบุคลากร อันจะเป็นการส่งเสริมให้บุคลากรศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ พัฒนาศักยภาพและมีประสิทธิภาพ โดยผู้บริหาร ครูและบุคลากรทำแผนพัฒนาตนเอง  และเข้าร่วมอบรม ไม่น้อยกว่า ๒๐ ชั่วโมงต่อคนต่อปี และการสนับสนุนการให้ครูเข้ารับการอบรมเพื่อผลิตสื่อ  นวัตกรรมเพื่อใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่ การจัดทำแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้บูรณาการหลักสูตรท้องถิ่นลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา และดำเนินโครงการนิเทศการศึกษา จัดกิจกรรมนิเทศการสอน ผู้บริหารมีการประชุม ครู และบุคลากรสัปดาห์ละ ๑ ครั้ง พัฒนางานวิชาการ เน้นให้มีกิจกรรมวิจัยชั้นเรียน
หลักฐานการประกอบการดำเนินงาน
๑. คำสั่งแต่งตั้งมอบหมายการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากร
๒. หลักสูตรบูรณาการองค์ความรู้ทะเลสาบสงขลาลงในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระการพัฒนาสังคม
๓. รายงานการประชุมบุคลากร
๔. รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๓
 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๓ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๓ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการพัฒนา  ดังนี้
จุดเด่น
        ๑.ด้านการวางแผนการบริหารจัดการด้านการทำงาน  ได้ครอบคลุม บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ   การบริหารงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ ได้ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
 ๒.ส่งเสริมการทำงานด้านวิชาการกับภาคีเครือข่าย โดยร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา
ในการจัดทำแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการกับหลักสูตรท้องถิ่นลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
 ๓.ด้านการรายงานผลการปฏิบัติงาน และเสนอแผนการปฏิบัติงานประจำปี แก่กรรมการสถานศึกษาทราบและเห็นชอบแผนการปฏิบัติงาน
จุดควรพัฒนา
- การบริหารงบประมาณ ในการส่งเสริมการจัดกิจกรรมใน กศน.ตำบล ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ชุมชนสามารถเข้ามาใช้บริการได้
ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
- วางแผนการพัฒนา กศน.ตำบล ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน โดยการวางแผนการจัดแหล่งเรียนรู้ กศน.ตำบล  ๑ กิจกรรม
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา (ต่อ)
มาตรฐานที่ ๔ มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา
          สถานศึกษากำหนดเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๔   ไว้ที่ค่าเฉลี่ย   ๘.๑๐     ระดับคุณภาพดี  ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๑ ดังนี้
ตัวบ่งชี้ น้ำหนัก
(คะแนน) ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ บรรลุเป้าหมาย
ตัวบ่งชี้ที่ ๑ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๕ ๔.๑๐ ดี /
ตัวบ่งชี้ที่ ๒การประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ๕ ๔.๐๐ ดี /
ภาพรวมมาตรฐานที่   ๔ ๑๐ ๘.๑๐ ดี บรรลุ
เป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้
ข้อมูลความตระหนัก 
 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ ได้ดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา  โดยการวางแผนพัฒนาจุดเด่นในด้านการวางระบบและกลไกการประกันคุณภาพให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบบริหาร มีกระบวนการประกันคุณภาพ และการจัดทำรายงานการประเมินตนเองและการใช้ผลการประเมินตนเอง ในการพัฒนา โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐาน ติดตามตรวจสอบคุณภาพ ประเมินคุณภาพ รายงานผลการประเมินตนเอง ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ข้อมูลความพยายาม
 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ ได้ดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา  โดยการวางแผนพัฒนาจุดเด่นในด้านการวางระบบและกลไกการประกันคุณภาพให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบบริหาร มีกระบวนการประกันคุณภาพ และการจัดทำรายงานการประเมินตนเองและการใช้ผลการประเมินตนเอง ในการพัฒนา โดย
- ประชุมบุคลากร ดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
- มอบหมายบุคลากรให้รับผิดชอบตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้เพื่อการศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
- ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมโดยเน้นนโยบายและการดำเนินการ ในการกำหนดโครงการ/กิจกรรม ประชุมวางแผนร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคน มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งบุคลากรรับผิดชอบตามความสามารถ เพื่อให้ภารกิจบรรลุตามเป้าประสงค์
หลัก
หลักฐานการประกอบการดำเนินงาน
๑.รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
๒.คำสั่งแต่งตั้งการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๔
 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๔ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๔ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการพัฒนา  ดังนี้
จุดเด่น
๑. บุคลากรมีความรู้ความสามารถมีความมุ่งมั่น มีความรักความสามัคคี
๒. ภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความร่วมมือ
๓. สถานศึกษาได้รับมอบอำนาจในการบริหารจัดการทำให้เกิดความคล่องตัว
๔. สถานศึกษามีสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย
๕. สถานศึกษามีระบบติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
จุดควรพัฒนา
๑. บุคลากรมีไม่เพียงพอกับภาระงาน
๒. สถานศึกษามีการบริหารงานที่มีขั้นตอนมากเกินไปทำให้การดำเนินงานช้า
๓. การจัดสรรงบประมาณล่าช้าและไม่เพียงพอ
ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
๑. มอบหมายภารกิจให้กับบุคลากรตรงตามความสามารถของบุคลากร
๒. จัดสรรงบประมาณอย่างรวดเร็ว
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา
  สถานศึกษากำหนดเป้าหมายความสำเร็จของบมาตรฐานที่ ๕ ไว้ที่ค่าเฉลี่ย ๘.๙๐ ระดับคุณภาพ ดี ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๕  ดังนี้
ตัวบ่งชี้ น้ำหนัก
(คะแนน) ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ บรรลุเป้าหมาย
ตัวบ่งชี้ที่ ๑  ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา
 พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา ๕ ๔.๖๐ ดีมาก /
ตัวบ่งชี้ที่ ๒  ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่น
ที่สะท้อนเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๕ ๔.๓๐ ดี /
ภาพรวมมาตรฐานที่ ๕ ๑๐ ๘.๙๐ ดี บรรลุ
เป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้
ข้อมูลความตระหนัก
           ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ ได้รับความร่วมมือจากบุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษาและเครือข่ายทุกภาคส่วนในการกำหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ แผนพัฒนาคุณภาพ และแผนปฏิบัติการประจำปีให้เป็นไปตามนโยบายสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด    และตามความต้องการของประชาชนในอำเภอรัตภูมิ เป็นลายลักษณ์อักษร มีการชี้แจงแลกเปลี่ยนและร่วมแสดงความคิดเห็นของบุคลากรทุกคนและภาคีเครือข่าย มีการเผยแพร่ต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานเครือข่ายและสาธารณชน
ข้อมูลความพยายาม
          ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมโดยเน้นนโยบายและการดำเนินการ ในการกำหนดโครงการ/กิจกรรมโดยการร่วมวางแผนร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทุกคน มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งบุคลากรรับผิดชอบตามความสามารถ เพื่อให้ภารกิจบรรลุตามเป้าประสงค์

หลักฐานการประกอบการดำเนินงาน
๑. แผนพัฒนาการศึกษา ๓ ปี
๒. แผนปฏิบัติการประจำปี
๓. รายงานผลการดำเนินงาน
๔. คำสั่ง
๕. มีคู่มือการปฏิบัติงาน
๖. มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย
๗. รายงานการประชุม
สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๕
 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๕ พบว่าสถานศึกษา บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๕ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการพัฒนา  ดังนี้
จุดเด่น
             ๑. บุคลากรมีความรู้ความสามารถมีความมุ่งมั่น มีความรักความสามัคคี
๒. ภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความร่วมมือ
๓. สถานศึกษาได้รับมอบอำนาจในการบริหารจัดการทำให้เกิดความคล่องตัว
๔. สถานศึกษามีสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย
๕. สถานศึกษามีระบบติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
จุดควรพัฒนา
๑. บุคลากรมีไม่เพียงพอกับภาระงาน
๒. สถานศึกษามีการบริหารงานที่มีขั้นตอนมากเกินไปทำให้การดำเนินงานช้า
๓. การจัดสรรงบประมาณล่าช้าและไม่เพียงพอ
ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
๑. มอบหมายภารกิจให้กับบุคลากรตรงตามความสามารถของบุคลากร
๒. จัดสรรงบประมาณอย่างรวดเร็ว
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม
มาตรฐานที่ ๖  มาตรการส่งเสริม
สถานศึกษากำหนดเป้าหมายความสำเร็จของบมาตรฐานที่ ๖ ไว้ที่ค่าเฉลี่ย    ๙.๐๐ ระดับคุณภาพดีมาก   ซึ่งสถานศึกษาได้ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๖  ดังนี้
ตัวบ่งชี้ น้ำหนัก
(คะแนน) ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ บรรลุเป้าหมาย
ตัวบ่งชี้ที่ ๑ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยก
ระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความยั่งยืนเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ๕
 ๔.๕๐ ดีมาก /
ตัวบ่งชี้ที่  ๒ ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน ๕
 ๔.๕๐ ดีมาก /
ภาพรวมมาตรฐานที่ ๖ ๑๐ ๙.๐๐ ดีมาก บรรลุ
เป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองดังกล่าว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมของสถานศึกษา ดังต่อไปนี้
ข้อมูลความตระหนัก 
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ กำหนดเป้าหมายความสำเร็จโดยการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐานและรักษามาตรฐาน ตามนโยบายจุดเน้น มุ่งให้บุคลากรจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมด้านต่าง ๆเช่นการศึกษาพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทำ การป้องกันสิ่งเสพติดและเพศศึกษา การเรียนรู้ด้านภาษาอังกฤษ ภาษามาลายูถิ่น และมาลายูกลาง เพื่อพร้อมรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซี่ยน และดำเนินโครงการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีแผนปฏิบัติการเพื่อให้บุคลากรได้ดำเนินกิจกรรมต่าง ๆตามนโยบาย
 ข้อมูลความพยายาม
 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ ได้จัดทำโครงการเพื่อดำเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโดยมีโครงการดังนี้

 ๑.โครงการอบรมส่งเสริมการเรียนรู้เกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นการจัดกิจกรรมในระดับอำเภอ โดยการนำกลุ่มเป้าหมายไปศึกษาดูงาน จากนั้น ก็ส่งเสริมในระดับตำบล หมู่บ้านทุกตำบล เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านเกษตรธรรมชาติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๒.โครงการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ประชุม วางแผนและจัดส่งเสริมอาชีพต่าง ๆเช่นการเพาะเห็ดนางรม การออกแบบและจัดสวนหย่อม การปลูกผักสวนครัวเพื่อการค้า การเพาะเห็ดเพื่อการค้า และการนวดแผนไทย
 ๓.โครงการภาษาสันติสุข เพื่อเตรียมพร้อมรับการเป็นสมาชิกสมาคมอาเซี่ยน ๓ หลักสูตรดังนี้
  ๓.๑ หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
  ๓.๒ หลักสูตรภาษามาลายูถิ่น
  ๓.๓ หลักสูตรภาษามาลายูกลาง
 ๔. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ในโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษาเป็นโครงการที่ส่งเสริมการพัฒนาด้านจิตใจให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณธรรมจริยธรรม รู้จักการให้อภัย รู้จักการช่วยเหลือผู้อื่น ส่งเสริมการปฏิบัติตนให้มีจิตใจแจ่มใส มีสุขภาวะทางจิตที่ดี มีคุณธรรมไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น ทำให้อยู่ร่วมกับคนในสังคมได้อย่างมีความสุข
หลักฐานประกอบการดำเนินงาน
๑. แผนการปฏิบัติงาน
๒. โครงการ
 ๓.คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน
๔. แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม
๕.รายงานผลการจัดกิจกรรม
สรุปผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ ๖
 จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ ๖  พบว่าสถานศึกษา บรรลุ ตามเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานที่ ๖ ที่กำหนดไว้ โดยมีจุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการพัฒนา  ดังนี้
จุดเด่น
๑.แผนปฏิบัติงานประจำปี
 ๒.ส่งเสริมการทำงานด้านวิชาการกับภาคีเครือข่าย โดยร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลาในการจัดทำแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการกับหลักสูตรท้องถิ่นลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

 ๓.ด้านการรายงานผลการปฏิบัติงาน และเสนอแผนการปฏิบัติงานประจำปี แก่กรรมการสถานศึกษาทราบและเห็นชอบแผนการปฏิบัติงาน
จุดควรพัฒนา
 การบริหารงบประมาณ ในการส่งเสริมการจัดกิจกรรมใน กศน.ตำบล ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ชุมชนสามารถเข้ามาใช้บริการได้
ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
 วางแผนการพัฒนา กศน.ตำบล ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของ
ชุมชน กศน.ตำบลละ อย่างน้อย  ๑ กิจกรรม
 
บทที่ ๔
สรุปผลการประเมินตนเองและแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา
การประเมินตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตารมอัธยาศัย เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา   สรุปผลการประเมิน จุดแข็ง จุดอ่อน แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา และทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต  ดังนี้
๔.๑ สรุปผลการประเมินตนเอง
 ๔.๑.๑  สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
มาตรฐาน /ตัวบ่งชี้ น้ำหนักคะแนน ค่า  เฉลี่ย ระดับคุณภาพ
   ต้อง
ปรับปรุงเร่งด่วน ต้องปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ       
 การศึกษาขั้นพื้นฐาน       
ตัวบ่งชี้ที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๓ ๒.๓๕     
ตัวบ่งชี้ที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๓ ๒.๔๑     
ตัวบ่งชี้ที่ ๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๓ ๒.๕๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๔ ผู้เรียน คิดเป็น/ทำเป็น ๓ ๒.๓๑     
ตัวบ่งชี้ที่ ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๐ ๖.๓๔     
 การศึกษาต่อเนื่อง       
ตัวบ่งชี้ที่ ๖ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ๕ ๔.๕๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ผู้เรียนมีงานทำหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๕ ๔.๕๐     
 การศึกษาตามอัธยาศัย       
ตัวบ่งชี้ที่ ๘ ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ๓ ๒.๗๐     
 
มาตรฐาน /ตัวบ่งชี้ 
น้ำหนักคะแนน ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
   ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ต้องปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ       
ตัวบ่งชี้ที่ ๑ คุณภาพของหลักสูตร ๔ ๓.๓๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๒ คุณภาพของครู/ผู้สอน ๔ ๓.๑๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๓ คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูและผู้สอนที่เน้นผู้เรียน/ผู้รับบริการเป็นสำคัญ ๔ ๓.๒๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๔ คุณภาพผู้สอน/วิทยากรสอนการศึกษาต่อเนื่อง ๓ ๒.๕๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๕ คุณภาพสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ๓ ๒.๘๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๖ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๔ ๓.๖๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๗ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๓ ๒.๓๐     
มาตรฐานที่ ๓ การบริหารการศึกษา       
ตัวบ่งชี้ที่ ๑ คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา ๒ ๑.๗๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๒ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ๒ ๑.๘๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๓ ผลการบริหารความเสี่ยง ๒ ๑.๗๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๔  ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ๒ ๑.๘๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๕ ผลการปฏิบัติตามบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา ๒ ๑.๙๐     
มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา       
ตัวบ่งชี้ที่ ๑ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๕ ๔.๑๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๒ การประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ๕ ๔.๐๐     
มาตรฐานที่ ๕ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา       
ตัวบ่งชี้ที่ ๑ ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา พันธกิจ และวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา ๕ ๔.๖๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๒   ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อนเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๕ ๔.๓๐     
มาตรฐาน /ตัวบ่งชี้ 
น้ำหนักคะแนน ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
   ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ต้องปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
มาตรฐานที่  ๖ มาตรการส่งเสริม       
ตัวบ่งชี้ที่ ๑ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ๕ ๔.๕๐     
ตัวบ่งชี้ที่ ๒ ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน ๕ ๔.๕๐     
ภาพรวมของสถานศึกษา
 ๑๐๐ ๘๓.๓๑     

สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
      สถานศึกษามีการประเมินผลตนเองในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ดี ด้วยค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๘๓.๓๑ ซึ่ง บรรลุ  เป้าหมายความสำเร็จที่กำหนดไว้
   ๔.๑.๒ สรุปผลการวิเคราะห์ตนเองของสถานศึกษา
           ๑)  จุดเด่น
 ๑.๑  นักศึกษามีคุณธรรมจริยธรรม
 ๑.๒  ภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน
 ๑.๓  สถานศึกษามีระบบติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
 ๑.๔  บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการทำงานเป็นทีม
 ๑.๕   มีการจัดทำข้อมูลพื้นฐานหรือทำเนียบสื่อแหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา
                 ๑.๖  สถานศึกษาได้รับมอบอำนาจในการบริหารจัดการทำให้เกิดความคล่องตัว
 ๑.๗  สถานศึกษามีสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย
 ๑.๘  สถานศึกษามีการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
                 ๑.๙  สถานศึกษาส่งเสริมการทำงานด้านวิชาการกับภาคีเครือข่าย โดยร่วมกับภาคีเครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา ในการจัดทำแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการกับหลักสูตรท้องถิ่นลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
                ๑.๑๐  ด้านการรายงานผลการปฏิบัติงาน และเสนอแผนการปฏิบัติงานประจำปี แก่กรรมการสถานศึกษาทราบและเห็นชอบแผนการปฏิบัติงาน
            ๒)  จุดควรพัฒนา
                ๒.๑  สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาสูงขึ้น โดยการจัดกิจกรรมค่ายวิชาการและสอนเสริมให้กับนักศึกษา
 ๒.๒  ครูควรจัดทำแผนรายบุคคล
 ๒.๓  ครูควรมีการติดตามประเมินผู้เรียนตามความเหมาะสม
 ๒.๔  จัดทำสื่อในการบูรณาการ การเรียนการสอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาสาระ
                ๒.๕  สถานศึกษาควรจัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ครอบคลุมเนื้อหาแต่ละระดับ
               ๒.๖  สถานศึกษาควรจัดเก็บข้อมูลสถิติและดำเนินการเปรียบเทียบค่าร้อยละเฉลี่ยของผู้เรียนที่มีผลการทดสอบระดับชาติในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อเป็นข้อมูลศึกษาปัจจัยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนสูงขึ้น
              
                                  
๔.๒  แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา
 จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเห็นสมควรจัดโครงการ/กิจกรรมเพื่อปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามลำดับความสำคัญ  ดังนี้
    ๔.๒.๑ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ให้สามารถปฏิบัติงานตามกรอบนโยบาย และภารกิจงาน กศน.
             ๔.๒.๒ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียน ผู้รับบริการศึกษาจากแหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง
             ๔.๒.๓ การพัฒนานักศึกษา กศน..ให้มีความรู้ ทักษะ เจคติ  ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร  ทั้งหลักสูตรการศึกษาพื้นฐานและการศึกษาต่อเนื่อง   
๔.๓  ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต  
           ๔.๓.๑  การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ให้สามารถปฏิบัติงานตามกรอบนโยบายและภารกิจงานกศน. การจัดกิจกรรมพัฒนาบุคลากร เช่น ศึกษาดูงานการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดทำคลังข้อสอบ และกิจกรรมแนะแนวสร้างแรงจูงใจด้านอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียน ผู้รับบริการ สนใจและเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น
           ๔.๓.๒  ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียน ผู้รับบริการสามารถค้นคว้าศึกษาจากแหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเองจากแหล่งเรียนเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ห้องสมุด สื่อเทคโนโลยี
           ๔.๓.๓  การพัฒนานักศึกษา กศน..ให้มีความรู้ ทักษะ เจคติ  ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร  ทั้งหลักสูตรการศึกษาพื้นฐานและการศึกษาต่อเนื่อง  โดยการส่งเสริมการช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหาในการเรียน หรือการมาพบกลุ่ม การจัดสอนเสริมนอกรอบปกติ การจัดหาวิทยากรที่ชำนาญในสาขาเนื้อหามาเป็นวิทยากรสอนเสริม  และมีการประชุมครู นักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดมาตรการและสร้างแรงจูงใจให้มีจำนวนนักศึกษา ที่สามารถจบหลักสูตรในปริมาณที่สูงขึ้น และเน้นให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาสูงขึ้น โดยการจัดกิจกรรมค่ายวิชาการและสอนเสริมให้กับนักศึกษา

 


เข้าชม : 4210
 
 
 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอรัตภูมิ    ถนนยนตรการกำธร ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา 90180    โทร  0-7438-9174 โทรสาร 0-7438-9174  http://sk.nfe.go.th/rtp/
Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05